กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12642
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชัยพจน์ รักงาม | |
dc.contributor.advisor | สฎายุ ธีระวณิชตระกูล | |
dc.contributor.author | เอมมิกา วัชรสุทธิพงศ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2024-01-25T08:46:49Z | |
dc.date.available | 2024-01-25T08:46:49Z | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12642 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ของนักเรียน ด้านการส่งเสริมการอ่านจากกลุ่มครอบครัว ด้านการส่งเสริมการอ่านจากกลุ่มเพื่อน ด้านการส่งเสริมการอ่านจากครูและโรงเรียนกับประสิทธิผลการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของนักเรียน และเพื่อสร้างสมการพยากรณ์ประสิทธิผลการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของนักเรียน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 ปีการศึกษา 2558 จำนวน 364 คนเครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับตอนที่ 1 และแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับตอนที่ 2 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าคะแนนเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ แบบขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของนักเรียน ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 โดยรวมและรายด้าน พบว่า ทุกด้าน อยู่ในระดับปานกลาง 2. ประสิทธิผลการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของนักเรียน ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 โดยรวมและรายข้อ พบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก 3. ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของนักเรียนกับประสิทธิผลการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของนักเรียน ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 โดยรวมและรายด้านมีความสัมพันธ์กันทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. สมการพยากรณ์ที่ดีที่สุดของปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของนักเรียน ได้แก่ ด้านการส่งเสริมการอ่านจากกลุ่มครอบครัว และด้านการส่งเสริมการอ่านจากครูและโรงเรียน สามารถพยากรณ์ประสิทธิผลการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของนักเรียน ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 โดยรวม ได้ร้อยละ 58.9 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ได้สมการถดถอยในรูปคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐาน ดังนี้ Y = 1.116 + .640 (X3) + .130 (X1) Z = .682 (Z3) + .144 (Z1)" | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | Humanities and Social Sciences | |
dc.subject | ความสนใจในการอ่าน | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา | |
dc.subject | การส่งเสริมการอ่าน | |
dc.subject | การอ่านขั้นมัธยมศึกษา | |
dc.title | การพยากรณ์ประสิทธิผลการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 | |
dc.title.alternative | Effectiveness prediction to promote reding disposition of lower secondry students under Burirm Primry Eductionl Service Are, Office 3 | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to analyze the factors that influence the reading habit promotion of students concerning the promotion of reading from a family group, the promotion from reading groups, the promotion of reading and effectiveness of teachers and schools to promote reading dispositions of students. And to predict the effectiveness of promoting reading dispositions of students. Sample Including lower secondary students under Buriram Primary Educational Service Area, Office 3 of Education in 2015. There are 364 students who used to gather data for the 5 scales. Now the first question and the 5 rating scales. when two statistical methods used to analyze the data base. The average score The standard deviation Pearson correlation coefficient. And stepwise multiple regression analysis. The research found that 1. The factors that affect the effectiveness of promoting reading dispositions of lower secondary students under Buriram Primary Educational Service Area, Office 3. as a whole and found that all sides are moderate. 2. The effectiveness of promoting reading dispositions of lower secondary students under Buriram Primary Educational Service Area, Office 3 as a whole and found that most of the high level. 3. Factors affecting the effectiveness of promoting reading habits of students and the effectiveness of promoting reading habits of lower secondary students under Buriram Primary Educational Service Area, Office 3 as a whole and the relationship positively. The level of statistical significance .01 4. Predict the best predictors of the factors that affect the effectiveness of promoting reading dispositions of students. The promotion of reading from a family group. And the promotion of reading and school teachers. Can predict the effectiveness of promoting reading habits of lower secondary students under Buriram Primary Educational Service Area, Office 3 Overall, 58.9 percent, and can predict the effectiveness of promoting reading dispositions of lower secondary students under Buriram Primary Educational Service Area, Office 3 has a statistically significant level. 01 is the regression in the raw score. Y = 1.116 + .640 (X3) + .130 (X1) Z = .682 (Z3) + .144 (Z1)" | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การบริหารการศึกษา | |
dc.degree.name | การศึกษามหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.35 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น