กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12632
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมพงษ์ ปั้นหุ่น | |
dc.contributor.advisor | สุเมธ งามกนก | |
dc.contributor.author | เกียรติศักดิ์ แก้วมหาชัย | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2024-01-25T08:46:47Z | |
dc.date.available | 2024-01-25T08:46:47Z | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12632 | |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 900 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ลิสเรล (LISREL) ผลการวิจัยพบว่า 1. ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ ความฉลาดทางอารมณ์ ความคิดสร้างสรรค์ การสื่อสาร การมีวิสัยทัศน์ และความซื่อสัตย์สุจริต ตามลำดับ 2. ความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุของภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พิจารณาจากผลการตรวจสอบค่า "X" ^"2" เท่ากับ 214.77 ค่า df เท่ากับ 183 ค่า p เท่ากับ .053 ค่า CFI เท่ากับ 1.00 ค่า RMSEA เท่ากับ .02 แสดงว่า ตัวแปรทั้งหมดสามารถอธิบายความแปรปรวนของตัวแปรภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการได้ร้อยละ 45 3. ปัจจัยที่มีอิทธิพลรวมต่อตัวแปรภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการ ตัวแปรที่มีค่าอิทธิพลรวมมากที่สุด คือ ความฉลาดทางอารมณ์ รองลงมาเป็น ความคิดสร้างสรรค์ การสื่อสาร การมีวิสัยทัศน์และความซื่อสัตย์สุจริต ตามลำดับ ดังนี้ 3.1 ตัวแปรความฉลาดทางอารมณ์มีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมผ่านตัวแปร การสื่อสารต่อภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการ 3.2 ตัวแปรความคิดสร้างสรรค์มีอิทธิพลทางตรงต่อภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการ 3.3 ตัวแปรการสื่อสารมีอิทธิพลทางตรงต่อภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการ 3.4 ตัวแปรความซื่อสัตย์สุจริตมีอิทธิพลทางอ้อมผ่านตัวแปรความคิดสร้างสรรค์ ต่อภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | Humanities and Social Sciences | |
dc.subject | ภาวะผู้นำทางการศึกษา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา | |
dc.subject | โรงเรียนประถมศึกษา -- การบริหาร | |
dc.subject | วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก | |
dc.subject | ผู้บริหารโรงเรียน. | |
dc.title | ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน | |
dc.title.alternative | The cusl fctors ffecting servnt ledership of primry school dministrtors under the Office of the Bsic Eduction Commission | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to study causal factors those affected servant leadership of primary school administrators under the Office of the Basic Education Commission. The sample were 900 primary schools administrators. The tool for collecting the data was a set of five rating scale questionnaire. The statistical devices used in analyzing the data was LISREL program. The findings were as follows: 1. The factors those affected servant leadership of administrators were; emotional intelligence, creativity, communication, vision and integrity. 2. The causal factors affecting administrators on servant leadership in primary schools were consistent with empirical data. Goodness of fit measures were found to be "X" ^"2" = 214.77, df = 183, p = .053, CFI = 1.00, RMSEA = .02. The variables accounted for 45 percent of the variance on servant leadership. 3. Variables having a statistically significant and direct effected on servant leadership of primary school administrators were emotional intelligence, creativity, communication, vision and integrity with the following details; 3.1 The emotional intelligence variable had direct and indirect effect through communications variable on servant leadership. 3.2 The creativity variable had direct effect on servant leadership. 3.3 The communication variable had direct effect on servant leadership. 3.4 The integrity variable had indirect effect through creativity variable on servant leadership. | |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | |
dc.degree.discipline | การบริหารการศึกษา | |
dc.degree.name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 2.92 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น