กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/108
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสุจินดา ม่วงมี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:45:48Z
dc.date.available2019-03-25T08:45:48Z
dc.date.issued2545
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/108
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงศ์เพื่อศึกษาทัศนคติของนิสิตมหาวิทยาลัยที่มีต่อผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตระดับปริญญาตรีภาคปกติของมหาวิทยาลัย ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบ step wise rendom ได้มา 18 วิชาเอกจาก 50 วิชาเอก และร้อยละ 50 ของนิสิตที่มีในแต่ละวิชาเอกที่สุ่มได้รวมจำนวน 817 คน ประกอบด้วยนิสิตหญิง 390 คน และนิสิตชาย 227 คน การเก็บข้อมูลกระทำโดยใช้แบบสอบถาม "The Aging Semantic Differential - ASD" ของ Rosencranz and McNevin ซึ่งได้แปลเป็นภาษาไทยและได้ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบแล้ว ข้อมูลที่รวบรวมได้ถูกนำมาวิเคราะห์เพื่อหาค่าเฉลี่ยของทัศนคติรวมของกลุ่มตัวอย่างเป็นรายข้อ และจำแนกตามเพศหญิงและเพศชาย ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีทัศนคติต่อผู้สูงอายุเอนเอียงไปในทางบวกมากใน 5 รายการ คือ มีความเป็นมิตร (x ̅=2.20) มีความเอื้อเฟื่้อเพื่อแผ่ (x ̅=2.25) ยังทำประโยชน์ได้อีกมาก (x ̅=2.37) เชื่่อถือได้ (x ̅=2.47) และไม่ชอบอยู่นิ่ง (x ̅=2.50) ส่วนทัศนคติในทางลบทั้นในภาพรวมและพิจรารณาแยกตามเพศหญิง และเพศชายพบว่ามีเพียง 2 รายการ คือ เป็นผู้อนุรักษ์นิยมและโบราณ จากข้อมูลที่ปรากฎดังกล่าว ทำให้สามารถสรุปโดยทั่วไปว่า นิสิตภาคปกติระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพามีทัศนคติต่อผู้สูงอายุส่วนใหญ่ "ทั้งบวกและลบพอๆกัน" คือ เป็นกลางๆเมื่อพิจารณาแยกตามเพศหญิงและเพศชาายมีเพียง 4 รายการที่เป็นทัศนคติในทางบวกค่อนข้างมาก คือ มีความเป็นมิตร มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ยังทำประโยชน์ได้อีกมาก และเชื่อถือได้ จำน่าจะมีโปรแกรมทางการศึกษา เพื่อปรับปรุงและส่งเสริมทัศนคติของคนหนุ่มสาวที่มีต่อผู้สูงอายุให้มีความเป็นบวกในรายการต่างๆเพิ่มขึ้นth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยบูรพาen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectทัศนคติต่อผู้สูงอายุth_TH
dc.subjectนักศึกษา - - ทัศนคติth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ - - ไทยth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา - - นักศึกษา - - ทัศนคติth_TH
dc.subjectสาขาสังคมวิทยาth_TH
dc.titleทัศนคติของนิสิตของมหาวิทยาลัยที่มีต่อผู้สูงอายุth_TH
dc.title.alternativeAttitudes of college students toward older persons.en
dc.typeงานวิจัยth_TH
dc.year2545
dc.description.abstractalternativeA Study was carried out to survey college students' attitudes toward older persons. Atwo steps random sampling technique were made to obtain 18 major areas of study within Burapha University and then 50 per of students in each major areas to get a totat number of 817 subjects (390 females and 227 males). The Aging Semantic Differential - ASD of Rosencranz and McNevin translated into Thai version with approval of expert and previously used was made to collect data. Data were analyzed for average of each of the 32 items in the questionnaire. Results showed that both female and male students hae more positive attitudes (from the reting scale of 1-7 where one end is the most positive while the 7 end in the most negative) toward older persons in 5 items, e.g. were friendly (x ̅=2.20),generous (x ̅=2.25) ,productive (x ̅=2.47), and active (x ̅=2.50). Themore negative attitudes includes being "conservative"(x ̅=5.00) and "old-fashioned (x ̅=4.79). Allother items askes were more "neutral". It may be concluded that subjects' attitudes toward older persons were generally neutral and even with 5 items were more positive,an educational program aiming to build more positive attitude toward older persons should be established and implemented.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2545_014.pdf1.43 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น