กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10225
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorวรวุฒิ เพ็งพันธ์
dc.contributor.advisorสุวิชัย โกศัยยะวัฒน์
dc.contributor.authorวรากร อัครจรัสโรจน์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-09-18T07:56:53Z
dc.date.available2023-09-18T07:56:53Z
dc.date.issued2564
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10225
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2564
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาคุณค่าของธนาคารปูม้าในฐานะทุนทางสังคม กรณีศึกษาชุมชนบางเสร่อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรีและ 2) ศึกษาแนวทางการส่งเสริมคุณค่าของธนาคารปูม้าในฐานะทุนทางสังคมอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาชุมชนบางเสร่อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับเจ้าหน้าที่กลุ่มเกษตรกรทำประมงบางเสร่ผู้นำชุมชนตำบลบางเสร่ กลุ่มเยาวชนอายุตั้งแต่ 18 ถึง 20 ปีและชาวประมงตำบลบางเสร่โดยต้องมีประสบการณ์การทำงานไม่น้อยกว่า 2 ปีรวมทั้งสิ้น จำนวน 40 คน และใช้การสนทนากลุ่มกับตัวแทนผู้นำชุมชนตำบลบางเสร่ ตัวแทนสำนักงานเทศบาลตำบลบางเสร่ ประธานศูนย์เรียนรู้ธนาคารปูม้าบางเสร่ กลุ่มตัวแทนผู้ปกครองเยาวชนตำบลบางเสร่ ตัวแทนนักวิชาการและตัวแทนครูโรงเรียนชุมชนบ้านบางเสร่ จำนวน 8 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหาแบบตีความและสรุปข้อมูลสำคัญรายงานผลเป็นเชิงพรรณนาความผลการวิจัยพบว่า 1. คุณค่าของธนาคารปูม้าในฐานะทุนทางสังคม กรณีศึกษาชุมชนบางเสร่ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรีพบว่าคุณค่าของธนาคารปูม้าในฐานะทุนทางสังคม กรณีศึกษาชุมชนบางเสร่ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ประกอบด้วย 4 คุณค่า ได้แก่ 1) คุณค่าด้านทุนมนุษย์ ได้แก่ คุณค่าทางร่างกาย คุณค่าทางจิตใจ คุณค่าทางปัญญา และคุณค่าทางลักษณะนิสัย 2) คุณค่าด้านทุน สถาบัน ได้แก่ คุณค่าทางสังคม คุณค่าทางศาสนาและคุณค่าทางเศรษฐกิจ 3) คุณค่าด้านทุนภูมิปัญญาวัฒนธรรม ได้แก่ คุณค่าทางปัญญาคุณค่าทางศาสนาและคุณค่าทางสุนทรียศาสตร์และ 4) คุณค่าด้านทุนทรัพยากรธรรมชาติได้แก่ คุณค่าทางสังคม และคุณค่าทางเศรษฐกิจ 2. แนวทางการส่งเสริมคุณค่าของธนาคารปูม้าในฐานะทุนสังคมอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาชุมชนบางเสร่ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี สามารถสรุปได้ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ด้านการจัดการความรู้ของชุมชน ด้านการจัดตั้งแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชน และด้านการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้ของชุมชน
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectทุนทางสังคม
dc.subjectปูม้า
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการศึกษาและการพัฒนาสังคม
dc.titleแนวทางการส่งเสริมคุณค่าของธนาคารปูม้าในฐานะทุนทางสังคมอย่างยั่งยืน : กรณีศึกษาชุมชนบางเสร่ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี
dc.title.alternativeGuidelines for vlue promotion s sustinble socil cpitl of blue crb bnk : cse study of bngsry community, stthip district, chonburi province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis research aimed 1) to study the value of the Blue Crab Bank as a social capital, case study of Bangsaray Community, Sattahip District, Chonburi Province 2) to study ways to promote the value of the Blue Crab Bank as a sustainable social capital. The Methodology of this research was a qualitative research. Data were collected by in-depth interviews with relevant Bangsaray fisheries agricultural group officials, community leaders in Bangsaray, concerned youth groups from 18 to 20 years old and fishermen in Bangsaray Subdistrict. They must have at least 2 years of work experience, a total of 40 people, and using focus group discussion with 8 persons composed of representatives of Bangsaray community leaders, representative of Bangsaray Sub-district Municipality Office chairman of the Blue Crab Bank Learning Center, Bangsaray, a representative group of youth parents in Bangsaray Subdistrict, academic representative and representatives of teachers at Chumchonbanbangsaray School. The data were analyzed by means of content analysis, interpretation, and summarizing important information by descriptive writing. The Research Findings were as followed: 1. Value of Blue Crab Bank as a Sustainable Social Capital, a case study of Bangsaray Community, Sattahip District, Chonburi Province, found that the value of Blue Crab Bank as a sustainable social capital consists of 4 values as follows: 1) Human capital value was physical value, the mental value and intellectual value. 2) The value of institutional capital was the social value, religious value and economic value. 3) The value of cultural wisdom capital was Intellectual value, Religious value and Aesthetic value. 4) the value of natural resource capital was The social value and Economic value. 2. Guidelines for promoting the value of Blue Crab Bank as a sustainable social capital a case study of Bangsaray Community, Sattahip District, Chonburi Province. It can be summarized in 4 aspects, namely, the participation of people in the community, the knowledge management of the community, the establishment of lifelong learning resources of the communityand public relations disseminate knowledge of the community.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการศึกษาและการพัฒนาสังคม
dc.degree.nameการศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
62920075.pdf3.11 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น