กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1013
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวารี กังใจ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:01:11Z
dc.date.available2019-03-25T09:01:11Z
dc.date.issued2540
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1013
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ความสามารถในการดูแลตนเองและคุณภาพชีวิต กลุ่มตัวอย่างคือผู้สูงอายุทั้งเพศชายและเพศหญิงที่มีภูมิลำเนาในเขตเทศบาลตำบลแสนสุข อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี จำนวน 326 คน ดำเนินการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ตามแบบสอบถาม ด้วยแบบวัดความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของโรเซนเบอร์ก (Rosenberg's Self-esteem Scale, 1965) แบบประเมินความ สามารถในการดูแลตนเองของเอเวอร์สและคณะ (Evers, et al., 1985) และแบบวัดคุณภาพชีวิตของแคนทริล (Cantril, 1965) ผลการวิจัยพบว่า ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสามารถในการดูแลตนเอง (r = 84, P < .001) และคุณภาพชีวิต (r = .55, P < .001) ในขณะที่ความสามารถในการดูแลตนเองก็มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิต (r = .35, P < .001) และพบว่าปัจจัยพื้นฐานเรื่องสถานภาพสมรสมีความสัมพันธ์ทางลบกับคุณภาพชีวิต (r = -.14, P < .05) ปัจจัยพื้นฐานเรื่องการศึกษา มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความรู้ศึกมีคุณค่าในตนเอง (r = .15, P < .05) และการศึกษามีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิต (r =.29, P < .001) เมื่อนำปัจจัยพื้นฐานเรื่องสถานภาพสมรส การศึกษา ความเพียงพอของรายได้ ความรู้สึกมีค่าในตนเอง และความสามารถในการดูแลตนเอง เข้าในสมการถดถอย พหุคูณเพื่อทำนายคุณภาพชีวิต พบว่า ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ความสามารถในการดูแลตนเอง และการศึกษา สามารถทำนายคุณภาพชีวิตได้อย่างมีนัยสำคัญและตัวแปรทั้งหมดสามารถอธิบายความแปรปรวนของคุณภาพชีวิตได้ร้อยละ 38.16th_TH
dc.description.sponsorshipงบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยบูรพา ปี 2536th
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการดูแลสุขภาพด้วยตนเองth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
dc.titleความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ความสามารถในการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุth_TH
dc.title.alternativeSelf-esteem self-care agency and quality of line in elderlyen
dc.typeResearchth_TH
dc.year2540
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to examine the relationship between Self-Esteem, Self- Care Agency and Quality of life. The research subjects consisted of 326 persons from the elderly who were in Tombon Sansuk, Ampur Muang. Chonburi Province. Data collecting by interviewing from three questionnaires : the Rosenberg's Self-Esteem Scale 1965, the Appraisal ofSelf- Care Agency Scale developed by Ever, et al. (1985), and the quality of life index developed by Cantril (1965). Rusult the study indicated that the Self- Esteem was positive correlated wiht the Self-Care Agency (r = .84, P < .001) and the Quality of life (r = .55, P < .001) Self-Care Agency was also positive (r = .55, P < .001) with the Quality of life (r = .35, P < .001). The marital status was negative correlated with Quality of life (r = -.14, P < .05). Education was positive correlated with Self-esteem (r = .15, P < .05) and Quality of life (r = .29, P < .001) When marital status, education, income. Self-esteem and Self-care agency were entered into the regression model to predict Quality of life, there were 3 variable; Self-esteem, Self-care agency and education were significant predictors and all variables accounted for 38.16 % of variance in the Quality of life which was statistical significanceen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2540_001.pdf4.48 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น