กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10122
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เพชรรัตน์ วิริยะสืบพงศ์ | |
dc.contributor.author | มินตรา บุญเกิด | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะการจัดการและการท่องเที่ยว | |
dc.date.accessioned | 2023-09-18T07:53:54Z | |
dc.date.available | 2023-09-18T07:53:54Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10122 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กจ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสํารวจปัญหา และอุปสรรค์ด้านภาวะผู้นําในการจัดการห่วงโซ่อุปทานของผู้ประกอบการธุรกิจค้าปลีกวัสดุก่อสร้างขนาดกลาง และขนาดย่อม จังหวัดระยอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้ประกอบการธุรกิจค้าปลีกวัสดุ ก่อสร้างขนาดกลาง และขนาดย่อมในจังหวัดระยอง จํานวน 15 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive sampling) โดยพิจารณาความสอดคล้องกับเป้าหมายงานวิจัย โดยเจาะจงสัมภาษณ์ ผู้ประกอบการธุรกิจค้าปลีกวัสดุก่อสร้างขนาดกลาง และขนาดย่อม ทุกอําเภอในจังหวัดระยอง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา สถิติวิเคราะห์ เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่าผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมมีภาวะผู้นําทั้ง 8 ด้าน ซึ่งพบว่า ด้านผู้นําแบบประชาธิปไตย และด้านผู้นําแบบสนับสนุน ไม่พบปัญหา ส่วนด้านผู้นํา แบบทํางานเป็นทีม พบว่าผู้ประกอบการไม่เน้นบรรยากาศในการทํางานที่สนุกสนาน ด้านผู้นํา แบบมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ พบว่าผู้ประกอบการไม่มีการตั้งเป้าหมายในการทํางานที่ชัดเจน ด้านผู้นําแบบสร้างแรงบันดาลใจไม่พบปัญหา สําหรับด้านผู้นําแบบกระตุ้นการใช้ปัญญา พบว่า ผู้ประกอบการไม่มีการกระตุ้นให้ลูกน้องตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้นรวมทั้งไม่มีระบบในการแก้ไข ปัญหาด้านผู้นําแบบคํานึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล พบว่าผู้ประกอบการไม่มีความสนใจในการพัฒนาศักยภาพการทํางานของลูกน้อง และด้านผู้นําแบบมีส่วนร่วม พบว่าผู้ประกอบการไม่มีการจัดการประชุม สําหรับการจัดการห่วงโซ่อุปทานโดยผลที่ได้จากการวิเคราะห์พบปัญหาที่เกิดใน กระบวนการห่วงโซ่อุปทานมีด้านการวางแผน ด้านการจัดซื้อและจัดหาวัตถุดิบ ด้านการผลิต ด้านการขนส่งสินค้าไปยังลูกค้า และด้านการส่งคืนสินค้า งานวิจัยชิ้นนี้ได้จัดทําข้อเสนอแนะให้แก่ ผู้ประกอบการธุรกิจค้าปลีกวัสดุก่อสร้างขนาดกลาง และขนาดย่อม จังหวัดระยอง เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ผู้ประกอบการ | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- คณะการจัดการและการท่องเที่ยว | |
dc.subject | ธุรกิจขนาดย่อม | |
dc.subject | การค้าปลีก | |
dc.title | การศึกษาปัญหาและอุปสรรคของผู้ประกอบการธุรกิจค้าปลีกวัสดุก่อสร้างขนาดกลางและขนาดย่อมด้านภาวะผู้นำและการจัดการห่วงโซ่อุปทาน กรณีศึกษา จังหวัดระยอง | |
dc.title.alternative | Problems nd difficulties of mteril mnufcture retil businesses in smll nd medium enterprises with the mnger component nd supply chin supervision in ryong province | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This analysis consisted of qualitative research. Furthermore, the purpose of this examination was to examine problems and difficulties of material manufacture retail businesses in small and medium construction material retail enterprise with the manager component and supply chain supervision in Rayong province. The samples utilized in the research; consisted of the managers of Small and Medium Enterprises in Rayong province. In addition, 15 people were incorporated into purposive sampling by acknowledging coherence with research ambitions. Moreso, specific evaluation was done for the leaders of material manufacture retail businesses in Small and Medium Enterprises in Rayong province. Additionally, the statistics appropriated in the inquiry; consisted of descriptive statistics and content analysis statistics. The outcome of the analysis exhibited that small and medium construction material retail enterprise have administrations in all 8 vicinities. As a result, it was determined that the democratic leaders and in the aspect of the supportive leader didn’t present any issues. Moreover, it was established that entrepreneurs didn’t concentrate on the enjoyable occupied environment. As for influential, ideological leaders it was resolved that entrepreneurs didn’t possess an apparent specific aim for their occupation. Correspondingly, the inspirational leader didn’t detect any issues. For leaders who utilize rational invigoration, it was constituted that entrepreneurs didn’t motivate employees to be cognizant of the hurdles; as well as not having a system to resolve said hindrances in regards to differentiated leadership. Respectfully, it was initiated that entrepreneurs weren’t engrossed in cultivating personnel proficiency and cooperative leadership. Likewise, it was constituted that entrepreneurs didn’t conduct conferences for supply chain oversight. Therefore, the examination exhibited that the issues in the supply chain procedure; consisted of preparation, obtainment, and acquisition of raw materials, manufacturing, and conveyance of products to consumers; as well as the rebound of products. Lastly, this research has contrived suggestions for concerns and hurdles of material manufacture retail businesses in Small and Medium Enterprises oversight to develop contention. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | คณะการจัดการและการท่องเที่ยว | |
dc.degree.name | การจัดการมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
59920339.pdf | 3.01 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น