กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10041
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorธนวัฒน์ พิมลจินดา
dc.contributor.advisorสุณี หงษ์วิเศษ
dc.contributor.authorทรงพจน์ พูลสิน
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned2023-09-18T07:44:02Z
dc.date.available2023-09-18T07:44:02Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10041
dc.descriptionงานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ส่งเสริมการยอมรับเทคโนโลยีดิจิทัลในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานสาธารณสุข จังหวัดชลบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ส่งเสริมการยอมรับเทคโนโลยีดิจิทัลในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ประสบการณ์การทำงาน การใช้คอมพิวเตอร์การฝึกอบรมหลักสูตรด้านคอมพิวเตอร์และความสามารถทางคอมพิวเตอร์สำนักงานเก็บข้อมูลจากบุคลากรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี จำนวน 140 คน โดยการแจกแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าคะแนนเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า บุคลากรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรีโดยรวมมีความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ส่งเสริมการยอมรับเทคโนโลยีดิจิทับในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านคุณลักษณะของเทคโนโลยีมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านการเผยแพร่เทคโนโลยีด้านผู้รับ และด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม ตามลำดับ และเปรียบเทียบความคิดเห็น จำแนกตามปัจจัยด้านประชากรศาสตร์พบว่า เพศหญิงมีความคิดเห็นที่ส่งเสริมการยอมรับเทคโนโลยีดิจิทัลในการปฏิบัติงานมากกว่าเพศชายและผู้ที่มีอายุมากกว่า 50 ปีขึ้นไป ระดับการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรีรายได้มากกว่า 30,001 บาทขึ้นไป ทำงานมากกว่า 9 ปีขึ้นไป คอมพิวเตอร์ถือเป็นสิ่งจำ เป็นมากอบรมหลักสูตรคอมพิวเตอร์ 5 ครั้งขึ้นไป ความสามารถทางคอมพิวเตอร์ดีมาก มีความคิดเห็นที่ส่งเสริมการยอมรับเทคโนโลยีดิจิทัลในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมากที่สุด
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectบุคลากรสาธารณสุข -- ทัศนคติ
dc.subjectบุคลากรสาธารณสุข
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.titleความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ส่งเสริมการยอมรับเทคโนโลยีดิจิทัลในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
dc.title.alternativeOpinions towrds fctors promoting digitl technology doption on working of personnel in chonburi provincil public helth office
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe research on “Opinions towards Factors Promoting Digital Technology Adoption on Working of Personnel in Chonburi Provincial Public Health Office”, aimed to study opinions and to compare the opinions towards factors that promote digital technology acceptance on working of personnel in the Chonburi Provincial Public Health Office classified by gender, age, education level, average monthly income, work experience, computerusage, computer training course and the computer ability, collecting data from 140 person of the Chonburi Provincial Public Health Office by distributing questionnaires, statistics used for data analysis, such as frequency, percentage, mean and standard deviation. The result found that; in overall, personnel of the Chonburi ProvincialPublic Health Office having opinions towards factors that promote digital technology acceptance in the performance at the highest level, when considering each aspect, it was found that the characteristics of technology were the highest level, followed by the technology dissemination, the recipient and the social environment respectively; and the comparison of opinions it was found that females had opinions that promote digital technology adoption on working more than males, those over 50 years old, postgraduate education, income more than 30,001 Baht, working more than 9 years, computer is very necessary, training computer course more than 5 times and very good computer ability. All of them have the highest level of technology acceptance in their work.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
61930001.pdf2.28 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น