กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10037
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดลดาว วงศ์ธีระธรณ์ | |
dc.contributor.advisor | ชมพูนุท ศรีจันทร์นิล | |
dc.contributor.author | ปรารถนา ฟูลทั่น | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-09-18T07:44:01Z | |
dc.date.available | 2023-09-18T07:44:01Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10037 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้นำเสนอเกี่ยวกับการรับรู้และวิธีการจัดการผลกระทบทางจิตใจของผู้หญิงที่มีอาชีพขายบริการทางเพศที่ได้มาจากการวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวทางการวิเคราะห์เชิงปรากฏการณ์ วิทยาแบบตีความ (IPA) ข้อมูลวิจัยได้มาจากการสัมภาษณ์เชิงลึกกึ่งโครงสร้างกับผู้หญิงที่มีอาชีพขายบริการทางเพศ จํานวน 4 คน ผลของงานวิจัยนําเสนอสามใจความสําคัญหลัก ซึ่งประกอบด้วย ใจความสําคัญหลักที่ 1 “การประกอบอาชีพขายบริการทางเพศเป็นทางออก” ซึ่งประกอบไปด้วย 3 ใจความสําคัญย่อย คือ 1) ความรู้สึกสิ้นหวังกับปัญหาชีวิต 2) ความหวังที่จะมีชีวิตที่ดี และ 3) อิทธิพลของเครือข่ายทางสังคมต่อมา คือ ใจความสําคัญหลักที่ 2 การประกอบอาชีพขายบริการทางเพศเป็น “นรกบนดิน” ซึ่งประกอบไปด้วย 4 ใจความสําคัญย่อย คือ 1) การประกอบอาชีพขายบริการทางเพศเป็นเรื่องจําใจ 2) อาชีพขายบริการทางเพศมีความเสี่ยงสูง 3) อาชีพขายบริการทางเพศยังไม่ได้รับการยอมรับ และ 4) การประกอบอาชีพขายบริการทางเพศทําลาย “ค่าความเป็นคน” และใจความสําคัญหลักสุดท้ายหลักที่ 3 คือ “การประกอบอาชีพขายบริการทางเพศเป็นความทุกข์ที่ (ไม่) สามารถเยียวยา” ซึ่งประกอบไปด้วย 3 ใจความสําคัญย่อย คือ 1) แอลกอฮอล์ คือ ตัวช่วยสําคัญ 2) ความหวังที่จะเติมเต็มความหวังคือแรงผลักดันสําคัญ และ 3) การเลิกอาชีพขายบริการทางเพศคือทางออกของความทุกข์ จากผลการวิจัยดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าผู้หญิงกลุ่มนี้จําเป็นจะต้องได้รับความใส่ใจเป็นพิเศษและบริการให้ความช่วยเหลือทางด้านจิตใจทั้งจากภาครัฐ และเอกชนจะต้องสามารถเข้าถึงได้อย่างทั่วถึงสําหรับผู้หญิงในกลุ่มอาชีพนี้ การให้เกียรติและการไม่ตีตราตัดสินเป็นหัวใจสําคัญในการทํางานทางด้านจิตใจกับผู้หญิงกลุ่มนี้รวมถึงการเอื้อให้ผู้หญิงกลุ่มนี้ตระหนักถึงศักยภาพด้านบวกของตนเองและเห็นทางเลือกในชีวิต ซึ่งอาจช่วยให้ผู้หญิงกลุ่มนี้สามารถก้าวเข้าสู่อาชีพใหม่ที่ทําให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีกว่าได้ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | การค้าประเวณี | |
dc.subject | โสเภณี | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา | |
dc.title | ผลกระทบทางจิตใจของหญิงที่มีอาชีพขายบริการทางเพศ | |
dc.title.alternative | Psychologicl distress mong femle sex workers: n interprettive phenomenologicl study | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This qualitative study aimed to explore how sex-workers cope with the psychological distress experienced in their profession through an interpretative phenomenological study (IPA). The data were gathered through semi-structured interviews with four female sex-workers. Research presents four identified themes. The first theme is “Sex work is the only option” this theme comprised of three sub-ordinate themes: 1) Depression and Hopelessness, 2) Hope for a higher quality of life, and 3) Social Pressures. Second theme is “Sex work is like hell on earth” this theme comprised of four sub-ordinate themes: 1) “I don’t want to do it, but I have to…,” 2) Risks associated with sex work, 3) The social stigma of sex work, and 4) Sex work destroys human dignity. The last theme is “Psychological distress from working in the sex-industry can (not) be healed”, this theme comprised of three sub-ordinate themes: 1) Alcohol is a big help, 2) Hope is the primary motivation to continue working, and 3) Quitting sex-work is the only way to end the distress. The results demonstrate that special attention should be paid more to this group of women, and mental health services provided by the government and NGO need to be made available and accessible for them. Respectful and non-judgmental attitudes are keys for counselors to effectively work with this group of women. These women also need help to realize their potential and see alternatives, as this could help facilitate their transition towards alternative employment for a better quality of life. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | จิตวิทยาการปรึกษา | |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
58920541.pdf | 1.48 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น