กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10027
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปริญญา ทองสอน | |
dc.contributor.advisor | ปานเพชร ร่มไทร | |
dc.contributor.author | ทวีศักดิ์ อาจอาสา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-09-18T07:43:59Z | |
dc.date.available | 2023-09-18T07:43:59Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10027 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนสําหรับครูในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสวนป่าเขาชะอางค์ 2) เพื่อศึกษาผลของการใช้หลักสูตรฝึกอบรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนสําหรับครูในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสวนป่าเขาชะอางค์ 2.1) ศึกษาผลการประเมินความรู้ ความเข้าใจของครูในการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ก่อนและหลังการฝึกอบรม 2.2) ศึกษาเจตคติต่อหลักสูตรการฝึกอบรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน สําหรับครูในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่างเป็นครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2563 โรงเรียนสวนป่าเขาชะอางค์ อําเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี จํานวน 30 คน โดยใช้การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (Simple random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) หลักสูตรฝึกอบรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนสําหรับครู ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) แบบทดสอบความรู้ความเข้าใจในการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน มีค่าความเชื่อมั่น 0.88 3) แบบวัดเจตคติต่อหลักสูตรการฝึกอบรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนสําหรับครูในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) หลักสูตรฝึกอบรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน สําหรับครูในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานขั้นตอนที่ 2 การสร้างหลักสูตรฝึกอบรม ขั้นตอนที่ 3 การนําหลักสูตรฝึกอบรมไปใช้ และขั้นตอนที่ 4 การประเมินประสิทธิผลหลักสูตรฝึกอบรม ซึ่งมีความเหมาะสมขององค์ประกอบหลักสูตรในระดับมาก 4) ผลการใช้หลักสูตรฝึกอบรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนสําหรับครู ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้านความรู้ความเข้าใจของครูในการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ คะแนนเฉลี่ยหลังการฝึกอบรมสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนการฝึกอบรม อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และครูมีเจตคติต่อหลักสูตรการฝึกอบรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อการพัฒนาการเรียนการสอน สําหรับครูในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน อยู่ในระดับมาก | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | การวางแผนหลักสูตร | |
dc.subject | การฝึกอบรม -- หลักสูตร | |
dc.subject | ครู -- การฝึกอบรม | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน | |
dc.title | การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนสำหรับครูในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | |
dc.title.alternative | The trining curriculum development on using socil medi for instruction for techers in the bsic eduction | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to; 1) develop the training curriculum on using social media for instruction for teachers in the basic education Suanpakaocha-ang school, 2) study the results of the implementation of the training curriculum in two aspects, 1) the knowledge and understanding of teachers on learning management using social media before and after the training 2) the attitudes towards the training curriculum. The samples were 30 primary school and junior high school teachers, in second semester, academic year 2020 at Suanpakaocha-ang school, Borthong district, Chonburi Province selected by simple random sampling. Research instruments were, 1) The training curriculum on using social media for learning and instruction, 2) Knowledge and understanding test on using social media for learning and instructing with, the reliability of 0.88, 3) Attitude questionnaire on the training curriculum using social media for learning and instructing. The statistics used were mean, stand and deviation and t-test The results of the study were as follows; 1) The training curriculum on using social media for learning and instructing for teachers in the Basic Education consisted of 4 steps 1. Studying fundamental data 2. Construction of training curriculum 3. The implementing of the training curriculum 4. Evaluation of the training curriculum effectiveness . The results of the implementing of the training curriculum using social media for instructing for teachers in Basic Education were that the teachers had the post-test scores after the training significantly higher than the pre-test scores at the significant level of .05. The teachers attitudes toward the training curriculum using social media for learning and instructing was at a very high level. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | หลักสูตรและการสอน | |
dc.degree.name | การศึกษามหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
58910242.pdf | 12.52 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น