dc.contributor.advisor |
สุชาดา รัตนวาณิชย์ |
|
dc.contributor.author |
ณฐมน จันทร์แก้ว |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-09-18T07:20:08Z |
|
dc.date.available |
2023-09-18T07:20:08Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9852 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 |
|
dc.description.abstract |
องค์ประกอบที่สำคัญของโฆษราที่ปรากฏในนิตยสารคือพาดหัวหลัก เนื่องจากเป็นส่วนแรกที่สามารถดึงดูดกลุ่มเป้าหมายได้ ผู้สร้าง โฆษณาจึงมักจะนิยมนำโยหารภาพพจน์มาใช้ในการเขียนพาดหัวหลัก การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการใช้โวหารประเภท Trope และ Scheme ที่พบในพาดหัวหลักของโฆษณาผลิตภัณฑ์อาหารเสริมที่ปรากฏในนิตยสารสุขภาพสำหรับผู้ชายและผู้หญิง ฉบับที่ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2553-2560 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วยพาดหัวหลักโฆษณาในนิตยสารสุภาพผู้ชายและผู้หญิง จำนวน 67 พาดหัว ใช้กรอบการวิเคราห์โวหารภาพพจน์ของลีห์ (Leigh, 1994) แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ โวหารประเภท Trope และโวหาร ประเภท Scheme การวิเคราะห์ข้อมูลนำเสนอในรูปแบบพรรณนาวิเคราะห์ การวิเคราะห์ทางสถิติค่าความถี่ และค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า ในพาดหัวหลักโฆษณาผลิตภัณฑ์อาหารเสริมที่ปรากฏในนิตยสารสุขภาพผู้ชายและผู้หญิง มีการใช้โวหารประเภท Scheme มากกว่าโวหารประเภท Trope โดยโวหารประเภท Scheme ที่ใช้ในพาดหัวหลักโฆษณาผลิตภัณฑ์อาหารเสริมที่ปรากฏในนิตยสารสุขภาพผู้ชาย คิดเป็นร้อยละ 29.00 ซึ่งมากกว่าที่ปรากฏในนิตยสารสุขภาผู้หญิง คิดเป็นร้อยละ 24.00 โดยโวหารประเภท Scheme ที่พบในหาดหัวหลักโฆษณาผลิตภัณฑ์อาหารเสริมที่ปรากฏในนิตยสารสุขภาพผู้ชายและผู้หญิงมากที่สุด คือ การสัมผัสอักษร (Alliteration) เช่นเดียวกัน คิดเป็นร้อยละ 40.00 และ 38.00 ตามลำดับ |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
โฆษณา |
|
dc.subject |
การจัดการโฆษณา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร |
|
dc.subject |
ข้อความโฆษณา -- การเขียน |
|
dc.title |
การวิเคราะห์การใช้โวหารภาพพจน์ในพาดหัวหลักภาษาอังกฤษของโฆษณาผลิตภัณฑ์อาหารเสริมที่ปรากฎในนิตยสารสุขภาพผู้ชายและผู้หญิง |
|
dc.title.alternative |
An nlysis of rhetoricl figures used in english hedlines for supplement products ppering in men’s nd women’s helth mgzines |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The important component of advertisements appearing in magazines is main headlines since they are the first part that can attract target customers. Many advertising creators often use figures of speech in writing headlines. The purpose of this research was to study and compare the difference between the use of figures of speech, including trope and scheme in the main headlines of advertisements on dietary supplements appearing in online health magazines for men and women published in 2010-2017. The stimuli of this study comprised 67 headlines in advertisements fordietary supplement products in Men’s Health and Women’s Health magazine. The stylistic framework of figure of speech is divided into 2 categories; trope and scheme. The data analysis is presented in descriptive analysis style. Statistical analysis, frequency and percentage. The results of this study revealed that scheme was found in use with a higher frequency than trope both in Men’s and Women’s Magazines with the percentage of 29.00 and 24.00, respectively. Finally, alliteration was used with the highest frequency in both Men’s and Women’s Health Magizines with the percentage of 40.00 and 38.00, respectively. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร |
|
dc.degree.name |
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|