dc.contributor.author |
สยาม ยิ้มศิริ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T08:54:54Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T08:54:54Z |
|
dc.date.issued |
2555 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/952 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้ได้ศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างดินและท่อที่ฝังในทรายภายใต้การเคลื่อนตัวของท่อในแนวนอนและเคลื่อนตัวขึ้นในแนวดิ่งโดยให้ความสนใจเป็นพิเศษกับค่าแรงดันสูงสุดที่ดินกระทำต่อท่อได้มีการทบทวนผลการวิเคราะห์แบบ analytical ที่ใช้ในการประมาณค่าแรงดันสูงสุดและพบว่าสำหรับกรณีท่อฝังลึกนั้นจะมีความไม่แน่นอนอย่างมากในการประมาณค่าจริงเนื่องจากขอบเขตค่าที่ได้จากการวิเคระห์แบบ analytical นั้นกว้างมาก ฉะนั้นงานวิจัยนี้จึงได้ดำเนินการวิเคราะห์ไฟไนต์เอลิเมนต์ของปัญหาการเคลื่อนตัวของท่อในแนวนอนและเคลื่อนที่ขึ้นในแนวดิ่งที่ความลึกของท่อต่าง ๆ เพื่อศึกษาค่าแรงดันสูงสุดที่กระทำต่อท่อและศึกษาการเปลี่ยนแปลงของกลไกการวิบัติจากกรณีท่อฝังตื้นไปสู่กรณีท่อฝังลึก โดยในการวิเคราะห์ไฟไนต์เอลิเมนต์ได้ใช้แบบจำลองดิน 2 แบบ คือ แบบจำลอง Mohr-coulomb และแบบจำลอง Nor-sand ความแม่นยำของการวิเคราะห์ได้ทดสอบโดยการเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์กับผลการทดลอง tank test โดย Trautrnann & O' Rourke (1985) หลังจากนั้นจึงได้ขยายการวิเคราะห์ไปสู่กรณีท่อฝังลึกจนถึงค่า embedment ration เท่ากับ 100 ผลการวิเคราะห์ไฟไนต์เอลิเมนต์ที่ได้จะใช้ในการสร้าง design chart เพื่อใช้ในการออกแบบท่อในกรณีฝังลึก |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
โครงการวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากงบเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
การระบายสิ่งปฏิกูล |
th_TH |
dc.subject |
ระบบท่อใต้ดิน |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย |
th_TH |
dc.title |
พฤติกรรมของท่อที่ฝังลึกในดินทรายเมื่อเกิดการเคลื่อนตัวสัมพัทธ์ |
th_TH |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.year |
2555 |
|
dc.description.abstractalternative |
The soil-pipeline interactions in sand under lateral and upward movements are investigated with particular attention to the ultimate forces exerted on the pipe. The analytical solutions for estimating the ultimate forces are summarized and it is shown for the deep embedment condition that there is large uncertainty in the true values since the bounds established by the analytical solutions are large. In order to find the solution for the ultimate force and to investigate its transition from the shallow to deep failure mechanism, the finite element analysis of lateral and upward pipe movements is performed at different embedment ratios. Two different soil models are used for the simulations, i. e. Mohr-coulomb model and Nor-sand model. The accuracy of the analysis is first examined by simulating the experimental tank tests by trautmann & O'Rourke. The analysis is further extended to deeper embedment ratios of up to 100. The obtained FE results are used to construct a design chart for pipelines at deep embedment. |
en |