DSpace Repository

การจัดการองค์ความรู้นาฏศิลป์พื้นบ้านในเทศกาลฮาเจ๋ของชาวจิงจู๋ในพื้นที่จิงจู๋ซานต่าว

Show simple item record

dc.contributor.advisor Hung
dc.contributor.advisor Qin
dc.contributor.advisor ภูวษา เรืองชีวิน
dc.contributor.advisor มนัส แก้วบูชา
dc.contributor.author หวง, ฉิน
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-09-18T03:53:41Z
dc.date.available 2023-09-18T03:53:41Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9482
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การศึกษาวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ความรู้เกี่ยวกับนาฏศิลป์พื้นบ้านกระบวนการสืบทอดการปรับปรน และการจัดการองค์ความรู้เพื่อจัดทำข้อมูลสารสนเทศโดยใช้แนวคิดการจัดการองค์ความรู้แนวคิดนาฏศิลป์พื้นบ้านแนวคิดการสืบทอดวัฒนธรรม แนวคิดการปรับปรนวัฒนธรรม แนวคิดการประเมินคุณค่าของมรดกวัฒนธรรมและแนวคิดการสื่อความหมายทางวัฒนธรรมมาดำเนินการวิจัย ผลการวิจัย พบว่า องค์ความรู้นาฏศิลป์โดดเด่นในเทศกาลฮาเจ๋ คือ 1) รำถวายสุรา รำถวายธูป รำถวายดอกไม้ รำํถวายโคมและรำถวายช่อบุปผาเป็นส่วนหน่ึงของพิธีีกรรมทางศาสนา 2) ผู้แสดงรำล้วนเป็นสาวจิงจู๋ที่แต่งงานแล้วหรือผู้หญิงต่างชุมชนที่แต่งงานกับชายชาวจิงจู๋ 3) ท่ารำที่ปรากฏอาจกำหนดจากการเลียนแบบลักษณะธรรมชาติท่าทางของชาวประมง 4) อุปกรณ์การรำมีธูป ดอกไม้พลาสติกและขนไก่ขนนก ซ่ึงไก่นกเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ของชาวจิงจู๋ 5) เครื่องดนตรีมีกลองใหญ่ กลองเล็ก ฆ้องใหญ่ ฆ้องเล็ก ทำให้ลีท่ารำ สวยงามขึ้น 6) เนื้อเพลงที่สาวฮาเม่ยขับร้องในพิธีีกรรมนั้นเกี่ยวกับวิถีีชีวิต คติความเชื่ออันป็นสุนทรียะด้านจิตใจและประเพณีของชาวจิงจู๋ สำหรับการปรับปรนเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจนในนาฏศิลป์ จิงจู๋ ไดแ้ก่ ท่ารำ อุปกรณ์ เครื่องแต่งกาย สถานที่แสดงรำและจํานวนผู้แสดง ส่วนเหตุปัจจัยที่ทำให้มีการปรับปรน ดังนี้ 1) กระบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม 2) การแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม 3) การกระทำของผู้เชี่ยวชาญในทางสังคม 4) การเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติและ 5) การเปลี่ยนแปลงลักษณะประชากร ส่วนวิธีีการสืบทอดภูมิปัญญานาฏศิลป์พื้นบ้านมี 3 วิธี คือ การสืบทอดแบบการบอกเล่า โดยตรงการสืบทอดผ่านพิธีีกรรมและการสืบทอดโดยวิธีการส่งเสริมวัฒนธรรม ส่วนแนวทางการ จัดการองค์ความรู้ คือ ควรพัฒนาให้ศาลเจ้าฮาถิงและพิพิธภัณฑ์จิงจู๋เป็นแหล่งเรียนรู้ผ่านการจัดทำแผ่นพับหนังสือเผยแพร่องค์ความรู้ให้กับคนทั่วไป ตลอดจนสนับสนุนให้สายฮาเม่ยและอาสาสมคัรเป็นผสู้ื่อความหมายและนำเสนอนาฏศิลป์ผ่านกิจกรรมทางเลือก ตามลําดับ
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก
dc.subject นาฏศิลป์ -- จีน
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารศิลปะและวัฒนธรรม
dc.title การจัดการองค์ความรู้นาฏศิลป์พื้นบ้านในเทศกาลฮาเจ๋ของชาวจิงจู๋ในพื้นที่จิงจู๋ซานต่าว
dc.title.alternative Intellectul knowledge mngement in the scred dnce for homemde for homemde worship to h ting shrine on h festivl in jingzu sndo, Chin
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purpose was to study an intellectual knowledge in the sacred dance for homemade worship to Ha Ting shrine, process of disseminating and adaptation. Also, attempted to propose on making information materials. Then analyzing data with the concepts of Knowledge Management, Folk Dance, Assessment of Cultural Value and Cultural Interpretation. The study showed that: the noteworthy intellectual knowledge as follows: 1) Dance of worshiping whisky to the Gods, Incense-worshiping Dance, Flower-worshiping Dance, Heaven Lantern Worshiping Dance and Flower Stick Dance were parts of religious ritual; 2) The performers were the married women of Jing nationality; 3) The dance movements appeared in imitating the nature or manner of the fishery; 4) The dance props wre incenses, plastic flowers, chicken feathers or bird feathers, and chicken or bird may be the sacred animals for the Jing nationality; 5) The musical Instruments as drum and gong, and made the dance posture more beautiful; 6) The contents of song text were about the way of life, beliefs and the traditionality. The things that adjust and change included dance movements, dress, place, the number of performers. The factors of adaptation and changes as: 1) The process of social movement; 2) Cultural exchanges; 3) The behaviors of the experts in society; 4) Environmental change; 5) Demographic change. And there are three ways to disseminate: by telling directly, through the ritual and the means of cultural promotion. The guidelines for managing the intellectual knowledge as: 1) Jingzu Sandao should develop Ha Ting shrine and Jing nationality museum as Learning Centre; 2) Making Fold Brochure, book of dance disseminate; 3) Encourage Ha Mei, site-interpreter for tourists; 4) Organize related activities for tourists and others.
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline การบริหารศิลปะและวัฒนธรรม
dc.degree.name ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account