dc.contributor.author |
พรรณพิลาศ กุลดิลก |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-07-13T10:42:12Z |
|
dc.date.available |
2023-07-13T10:42:12Z |
|
dc.date.issued |
2564 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9278 |
|
dc.description |
โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้มหาวิทยาลัยเงินรายได้ส่วนงาน มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ 2562 |
th_TH |
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาการยอมรับแนวทางการสื่อสารเพื่อแก้ไขปัญหา
ทุพโภชนาการในเด็กยากจนที่อาศัยอยู่ในถิ่นทุรกันดาร กรณีศึกษาหมู่บ้านนายม จังหวัดชัยภูมิ โดยทำการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตอย่างมีส่วนร่วม และการสนทนากลุ่มกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อันได้แก่ ตัวแทนจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ผู้นำหมู่บ้าน องค์การบริหารส่วนตำบล โรงเรียนประจำหมู่บ้านและผู้ปกครอง ผลการวิจัยพบว่า แนวทางการสื่อสารเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวประกอบไปด้วย 1. การวิเคราะห์ปัจจัยภายในภายนอกที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน 2. การกำหนดกลุ่มเป้าหมายที่ครอบคลุมทั้งผู้ปกครองและเด็ก 3. การกำหนดวัตถุประสงค์การสื่อสารโดยมุ่งเน้นการสร้างการรับรู้ในผลกระทบจากปัญหาและกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมในรูปแบบสร้างนำซ่อม 4. การกำหนดสารหลักที่เข้าใจง่าย นำไปปฏิบัติได้จริง และใช้ภาษาถิ่นเป็นหลัก 5.การผสมผสานสื่อของชุมชนอันได้แก่ สื่อบุคคล สื่อหอกระจายเสียง และสื่อกิจกรรม โดยเน้นการสื่อสารสองทางและการมีส่วนร่วม 6. การประเมินผลโดยการบูรณาการเข้ากับกิจกรรมและการประเมินอย่างต่อเนื่องผ่านการสังเกตการณ์ 7. การต่อยอดโดยการสื่อสารอย่างสม่ำเสมอและขยายเครือข่ายความร่วมมือไปยังกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชน |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
การสื่อสารแบบมีส่วนร่วม |
th_TH |
dc.subject |
การสื่อสารสุขภาพ |
th_TH |
dc.subject |
ทุพโภชนาการในเด็ก |
th_TH |
dc.title |
การพัฒนารูปแบบการสื่อสารเพื่อแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในเด็กยากจน กรณีศึกษาหมู่บ้านนายม จังหวัดชัยภูมิ ประเทศไทย |
th_TH |
dc.title.alternative |
The Development of Communication Model for Malnutrition Problem Solving in Poor Children: A case study Nayom Village, Chaiyapoom, Thailand |
th_TH |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
panpilas@gmail.com |
th_TH |
dc.year |
2564 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
This research aims to develop and study the acceptance of guidelines on communication for solving problem on malnutrition of impoverished children living in remote areas: case study of Na Yom Village, Chaiyaphum Province. The research is conducted through in-depth interview, participant observation, and focus group with some stakeholders including representatives of sub-district health promoting hospitals, village health volunteers, village leaders, sub-district administrative organizations, village schools, and parents. The results revealed that the guidelines on communication for solving problem on malnutrition of impoverished children living in remote areas consisted of: 1) analysis on related internal and external factors; 2) target group determination covering parents and children; 3) establishment of communication objectives with emphasis on creating perception on effects caused by those problems and stimulating preventive behaviors in the form of before and after concept; 4) determination of main message that could be understood easily and practical with the main use of dialects; 5) integration of media that is the strength of communities including personal media, news tower media, and activity media by emphasizing on two-way communication and participation; 5) evaluation of communication by integrating with consecutive activities and evaluation through observation; and 6 ) development for sustainability through regular communication and expansion of collaborative network to other groups in communities. |
en |