dc.contributor.author |
สิริมา ชินสาร |
|
dc.contributor.author |
วิชมณี ยืนยงพุทธกาล |
|
dc.contributor.author |
นิสานารถ กระแสร์ชล |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-07-13T09:05:35Z |
|
dc.date.available |
2023-07-13T09:05:35Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9276 |
|
dc.description |
โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 |
th_TH |
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้ศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและการพัฒนากรรมวิธีการผลิตเร่วหอมผงพร้อมใช้ ขั้นตอนแรก เป็นการวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของเร่วหอมที่ใช้เป็นวัตถุดิบ พบว่า มีปริมาณฟีนอลิก 16.97 mg GAE/g ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิระด้วยวิธี DPPH มีเปอร์เซ็นต์การยับยั้งอนุมูลอิสระเท่ากับ 79.43 เปอร์เซ็นต์ และวิธี ß-carotene bleaching มีคำ antioxidant activity เท่ากับ 93.09 เปอร์เซ็นต์ ขั้นตอนที่ 2 เป็นการศึกษาการเตรียมขั้นต้นด้วยวิธีการลวกในสารละลายที่แตกต่างกัน (น้ำร้อน สารละลายโซเดียมคลอไรด์ และสารละลายโซเดียมเมตาไบซัลไฟต์) ต่อฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและคำสีของเร่วหอมผง พบว่า การลวกในสารละลายโซเดียมเมตาไบซัลไฟต์ที่อุณหภูมิสารละลายเดือด เป็นเวลา 1 นาที สามารถรักษาปริมาณฟีนอลิกไว์ได้มากที่สุด 24.90 mg GAE/g และทำให้เร่วหอมผงมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระมากที่สุด (p≤0.05) จากนั้นศึกษาผลของอุณหภูมิในการทำแห่ง (60 70 และ 80 องศาเซลเซียส) ต่อฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและคำสีของเร่วหอมผง พบว่า อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียสสามารถรักษาปริมาณฟีนอลิกในเร่วหอมผงมากที่สุด และเร่วหอมผงมีคำสีแดง (a*) เพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิในการทำแห่งเพิ่มขึ้น การศึกษาผลของขนาดอนุภาค (300 - 180 ไมครอน) ของเร่วหอมผงต่อฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและความสามารถในการละลาย พบว่า ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกมีแนวโน้มลดลงเมื่อขนาดอนุภาคเล็กลง โดยเร่วหอมผงที่ขนาดอนุภาค 300 ไมครอน มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูงที่สุด (p≤0.05) แต่คำการละลายของเร่วหอมผงเพิ่มขึ้นเมื่อขนาดอนุภาคเล็กลง ขั้นตอนที่ 3 ศึกษาคุณภาพผลิตภัณฑ์เร่วหอมผงเมื่อใช้เป็นส่วนผสมผงปรุงน้ำสำเร็จรูปทางการค้า พบว่า มีคำความหนาแน่น 0.72 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร คำการไหลซึ่งอธิบายถึงการจับตัวกันเป็นก่อน เมื่อพิจารณาจากเวลาในการไหลในตัวอย่าง 50 กรัม ใช้เวลา 5.15 วินาที เมื่อพิจารณาจากคำ Static angle of repose เท่ากับ 52.86 องศา หมายถึง ความสามารถในการไหลต่ำ (poor) มีคำสี L* เทำกับ 75.85 a* เทำกับ 3.54 และb* เทำกับ 17.73 ผลิตภัณฑ์ที่ได้มีลักษณะเป็นผงละเอียดสีเหลืองอ่อน |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
เร่วหอม (พืช) - - การผลิต |
th_TH |
dc.subject |
เร่วหอม |
th_TH |
dc.title |
การศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและการพัฒนากรรมวิธีการผลิตเร่วหอมผงพร้อมใช้ |
th_TH |
dc.title.alternative |
Study of antioxidant activity and process development of ready to use bustard cardamom powder |
th_TH |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
sirima@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
wich@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
nisanart@buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2561 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
This research was to study the antioxidant activity and process development of ready to use bustard cardamom powder. First step, the antioxidant activity of raw bustard cardamom was analyzed. Results showed that raw bustard cardamom had total phenolic content of 16.97 mg GAE/g, DPPH radical scavenging of 79.43 % inhibition and antioxidant activity by ß-carotene bleaching method of 93.09 %. Second step, the effect of pre-treatments by blanching in different solutions (water, sodium chloride and sodium metabisulfite) on antioxidant activity and color value was investigated. Results showed that blanching in sodium metabisulfite at boiling temperature of the solution for 1 minute; the sample had the highest total phenolic content of 24.90 mg GAE/g and the highest antioxidant activity (p≤0.05). Subsequently, the effect of drying temperature (60, 70 and 80˚C) on antioxidant activity and color value was studied. Results revealed that bustard cardamom powder which was dried at 60 ˚C could retain the highest total phenolic content and a* value increased when the drying temperature increased. After that, the effect of particle size (300 - 180 micron) on antioxidant activity and solubility of bustard cardamom powder was investigated. Results showed that total phenolic content tended to decrease when the particle size decreased. DPPH assay showed that the 300 micron powder had the highest antioxidant activity. However, it was found that the solubility of powder increased when the particle size decreased. Third step, the quality of product when used as a mixture of the commercial seasoning ingredients was investigated. The mixture had the density of 0.72 g/cm3. Flowability, indicated powder caking, showed 5.15 seconds flow for 50 g sample. It also had the static angle of repose as 52.86° (poor flowability), L* value of 75.85 a* value of 3.54 and b* value of 17.73. This mixture product had the attribute as light yellow powder. |
th_TH |