DSpace Repository

ผลของความเค็มน้ำ ชนิดอาหาร และสิ่งหลบซ่อนต่อการพัฒนาการ การเจริญเติบโตและการรอดตายของการอนุบาลลูกปูม้า (Portunus pelagicus linnaeus)

Show simple item record

dc.contributor.author บุญรัตน์ ประทุมชาติ th
dc.contributor.author สุริยัน ธัญกิจจานุกิจ th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:54:49Z
dc.date.available 2019-03-25T08:54:49Z
dc.date.issued 2547
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/890
dc.description.abstract ทำการทดลองอนุบาลปูม้า (Portunus pelagicus) เชิงพาณิชย์ 3 ระยะ ได้แก่ ระยะซุเอีย (Zoea Stage) ระยะเมกาโลเปา (Magalopa Stage) ระยะตัวปู ( Crab Stage) ด้วยการออกแบบการทดลองแบบเฟลทอเรียล ในบ่อคอนกรีตขนาด 1.3 เมตร x 3.35 เมตร x 0.07เมตร โดยใช้ระดับความหนาแน่น 225 ตัว/ลิตร, 20ตัวตัว/ลิตร, และ2 ตัว /ตารางนิ้ว ตามลำดับ ภายใต้ระดับความเค็มน้ำ 24 , 27 และ 30 ppt โดยมีชนิดของอาหารเป็นปัจจัยร่วมในการอนุบาลลูกปูระยะซูเอีย และการใช้วัสดุหลบซ่อนของการอนุบาลในระยะเมกาโลเปาและระยะตัวปู เพื่อตรวจสอบการรอดตาย การเจริญเติบโต และการพัฒนาการของลูกปูม้า ผลจากการอนุบาลในระยะซูเอีย พบว่า ชนิดอาหารมีผลต่อการรอดตาย กล่าวคือการอนุบาลโดยให้โรติเฟอร์กับอาร์ทีเมียวัยอ่อน มีอัตราการรอดตายสูงสุด (56.1±1.8%) โดยสูงกว่าการอนุบาลด้วยโรติเฟอร์ร่วมกับอาร์ทีเมียเฟลก(42.4±2.1)ขณะที่ไม่แตกต่างไปจากการใช้โรติเฟอร์ร่วมกับไรแดง (P<0.05) ชนิดอาหาร ความเค็มน้ำ และความเค็มน้ำร่วมกับอาหาร มีผลต่อการเจริเติบโต (P<0.05) การอนุบาลความเต็มน้ำ 24 และ27 ppt ลูกปูจะมีความยาวสูงกว่าการอนุบาลในน้ำเค็ม 30 ppt ส่งผลให้ลูกปูระยะซูเอียใช้ระยะเวลาสั้นที่สุด (8.1±0.4วัน) การใช้โรติเฟอร์ร่วมกับอาร์ทีเมียเฟลก ส่งผลให้ใช้เวลาในการพัฒนาการของลูกปูระยะซูเอียนานที่สุด (P<0.05) ขณะที่ความเค็มน้ำร่วมกับชนิดอาหารไม่มีผลต่อระยะเวลาการพัฒนาการ (P<0.05) ผลการอนุบาลปูม้าระยะเมกาโลปาและตัวปู (C1-C5) พบว่าความเค็มน้ำ และความเค็มน้ำร่วมกับการใช้วัสดุหลบซ่อนไม่มีผลต่ออัตราการรอดตาย การเจริญเติบโต และการพัฒนาการของลูกปูทั้งสองระยะ (P<0.05) การใช้วัสดุหลบซ่อนแขวนแนวดิ่ง ส่งผลให้ลูกปูระยะเมกาโลปามีอัตราการรอดตาย (58.9±1.9%) สูงกว่าการใส่วัสดุกองพื้น และให้ผลในทางกลับกันในระยะตัวปู (P<0.05) ในทางตรงกันข้ามการใส่วัสดุหลบซ่อนแขวนแนวดิ่ง ส่งผลให้ลูกปูระยะเมกาโลปามีการเจริญเติบโตช้ากว่าการใช้วัสดุหลบซ่อนกองที่พื้น และให้ผลในทางกลับกันในระยะตัวปู (P<0.05) th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ปูม้า - - การเจริญเติบโต th_TH
dc.subject ปูม้า - - วิจัย th_TH
dc.subject ปูม้า - - อาหาร th_TH
dc.subject ปูม้า th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title ผลของความเค็มน้ำ ชนิดอาหาร และสิ่งหลบซ่อนต่อการพัฒนาการ การเจริญเติบโตและการรอดตายของการอนุบาลลูกปูม้า (Portunus pelagicus linnaeus) th_TH
dc.title.alternative Effects of salinity, type of feed, and shelter on development, growth and survival rate for larviculture of blue swimming crab (portunus pelagicus) en
dc.type Research
dc.year 2547
dc.description.abstractalternative Abstract Crab (Portunus pelagicus) larval Stage (Zoea, Magalopa, and Crab) were commercially cultured in 1.3 m x 3.35 m x 0.07 m concrete tank under factorial design at densities of 225 Zoea/L, 20 Magalopa/L and 2 Crab/inch²,respective.the three levels of salinity of 24ppt, 27ppt and 32ppt were the main factors for laviculture. Type of feed was the co-factor Zoea culture while shelter was co-factor for Magalopa and Crab culture. Survival rate, growth and metamorphosis period were examined. The result of the study indicated that the survival rate was significantly affected by type of feed (P<0.05). The high survival rate (56.1±1.8%) was found in Zoea fed on rotifer (Brachionus plicatitis) + newly - hatched artemia. This value was significantly higher than that of Zoea fed on rotifer and artemia flake group (P<0.05) but it was not significant different from Zoea fed on rotifer + water flea (Moina macraoopa). Growth was significantly effected, type of feed and co-factor of salinity and feed. The length gain of Zoea in 24 ppt and 27 ppt significantly (P<0.05).higher than that of 30 ppt. The significant growth in length gain was found in found in Zoea fed on rotifer + artemia nauplii.Furthermore, interaction between salinity and feed was also significantly (P<0.05) affected on growth. The results revealed that Zoea fed on rotifer + artemia nauplii under 24 ppt,27ppt and 30 ppt and rotifer – water flea under 27 ppt were significant highest (P<0.05) but it was not significant different among these groups (P<0.05) .The significant lowest gain was found in Zoea fed with rotifer + artemia flake and its growth wound be significant decreased (P<0.05) whan the salinity increased metamorphosis period ๖(from hatch to the initial period of metamorphosed magalopa)significantly decreased whan salinity increased. The significant (P<0.05) shortes period (8.1±0.4 day ) from Zoea to magalopa stages was found in Zoea under 30 ppt . the significant (P<0.05) longest period was found in Zoea fed on rotifer + artemia flake. However, the metamorphosis period was not significantly influenced by the interaction of salinity and feed For magalopa and crab culture, survival rate, growth and metamorphosis period were not significantly affected by salinity as well as salinity and shelter. Survival rate of magalopa (58.9±1.9%) using vertical line of oyster shell was significantly higher than of that of using horizontal one and vine versa for crab stage (P<0.05).on the contrary, growth of magalopa using vertical shelter showed significantly lower than that of using horizontal one and vine versa for crab stage(P<0.05). en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account