dc.contributor.advisor |
ภรดี พันธุภากร |
|
dc.contributor.advisor |
เสกสรรค์ ตันยาภิรมย์ |
|
dc.contributor.author |
ขวัญชนก การถาง |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-06-06T03:49:31Z |
|
dc.date.available |
2023-06-06T03:49:31Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8532 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
ประเพณีที่เชื่อมโยงความเชื่อ ความศรัทธา ความผูกผันของผู้คนที่มีต่อพุทธศาสนา แสดงรากเหง้าความเป็นมาตามแต่ละท้องถิ่นได้อย่างชัดเจน แต่เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว การอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมดั้งเดิมให้คงอยู่ได้นั้น ต้องปรับเปลี่ยนให้เป็นไปตามยุคตามสมัยเท่าทันกับกระแสโลก ดั้งนั้นการรับเอาสิ่งใหม่ ๆ เข้ามา โดยไม่รู้ความหมายที่แท้จริง ทำให้ระบบความ เชื่อดั้งเดิมบางอย่างค่อย ๆ จางหายลดทอนคุณค่าลงคุณค่าที่แท้จริงบางอย่างถูกบิดเบือน งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) ศึกษาประวัติความเป็นมาอำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ประเพณีบุญหลวงการละเล่นผีตาโขน มีสาระความสำคัญ เรื่องความเชื่อความศรัทธาผีบรรพบุรุษ และอิทธิพลที่ส่งผลถึงรูปแบบความเปลี่ยนแปลง 2) สร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมด้วยเทคนิคผสม (Mixed Media) โดยเลือกใช้วัสดุที่แสดงสัญลักษณ์และความหมายตามแนวคิดด้วยเครื่องปั้นดินเผา ไม้ เหล็ก และผ้า ขึ้นรูปอิสระในรูปแบบกึ่งนามธรรม จำนวน 2 ชุด ชุดที่ 1 มี 1 ชิ้น ขนาดสำเร็จ 160 เซนติเมตร ชุดที่ 2 มี 2 ชิ้น ขนาดสำเร็จ 180 เซนติเมตร 3) ออกแบบงานประติมากรรมตกแต่งที่เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานที่ ติดตั้งในบริเวณวัดโพนชัย พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ผลงานนี้ผู้วิจัยต้องการสร้างความทรงจำแก่นักท่องเที่ยว และผู้ที่พบเห็นให้มีส่วนร่วมกับ ผลงานได้ซึ่งผลงานประติมากรรมนี้ช่วยส่งเสริมในด้านการทำนุบำรุงศาสนาและวัฒนธรรม ประเพณี ที่สะท้อนคุณค่าของระบบความเชื่อ ความศรัทธา ด้วยรูปแบบผลงานประติมากรรมแนวใหม่ ช่วยกระตุ้นการท่องเที่ยวให้กับอำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย และประเทศไทยในทางอ้อม |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ |
|
dc.subject |
เลย -- ด่านซ้าย (เลย) -- ความเป็นอยู่และประเพณี |
|
dc.subject |
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) |
|
dc.subject |
แหล่งท่องเที่ยว -- การพัฒนา |
|
dc.subject |
ผีตาโขน (พิธีกรรม) |
|
dc.subject |
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ |
|
dc.title |
"ผีตาโขน" การออกแบบประติมากรรม ตกแต่ง แหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมท้องถิ่น อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย |
|
dc.title.alternative |
"Phi t khon" decorte sculpture culturl ttrction. dnsi, loie |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
According to the relationship between tradition, belief, and faith of people to Buddhism, it clearly presents the background of each locality. However, the conservation of traditional culture must be adapted along with rapidly changing era. Therefore, perceiving something new without knowing the true meaning, it has an effect on traditional belief systems and the value gradually fades away even the true values are distorted. This research aims1) to study the history of Dan Sai district in Loei Bun Luang “Phi Ta Khon”. The importance is beliefs and faith of ancestral spirits and the effect of pattern changes. 2) to create a sculpture with Mixed Media by using materials to express symbols and meaningful to the concepton pottery, wood, steel, and fabric in the forming of semi-abstract. The sculpture consists of 2 sets as the following: the first set includes one piece of 160 cm. and the second set includes two pieces of 180 cm. 3) to design thedecorative sculptures. Which are appropriated and consistent with location, Wat Phonchai: local museum Dan Sai district in Loei. The researcher would like to create memories for tourists and those who see be involved with the work This sculpture helps in promoting religious and cultural traditions and reflecting on the value of the faith system with a new style of sculptures. It stimulates tourism in Dan Sai district, Loei and Thailand indirectly |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
ทัศนศิลป์และการออกแบบ |
|
dc.degree.name |
ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|