DSpace Repository

การค้นหาสารออกฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ต้านอักเสบ และต้านไทโรซิเนสจากใบว่านสาวหลง

Show simple item record

dc.contributor.author กล่าวขวัญ ศรีสุข th
dc.contributor.author เอกรัฐ ศรีสุข th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:53:11Z
dc.date.available 2019-03-25T08:53:11Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/801
dc.description.abstract ว่านสาวหลง (Amomum biflorum Jack) เป็นพืชที่ถูกนำมาใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง งานวิจัยนี้ทำการศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนส และต้านการอักเสบของส่วนสกัดจากใบว่านสาวหลง ทำการแยกสารจากใบพืชโดยวิธีฤทธิ์ทางชีวภาพนำการสกัด งานวิจัยนี้ทำการศึกษาฤทธิ์ด้านออกซิเดชันของส่วนสกัดเฮกเซน เอทิลอะซิเตท และเมทานอลของใบว่านสาวหลง โดยทำกรทดสอบฤทธิ์การกำจัดอนุมูล 2,2-Diphenyl-1-picrylhdrazyl (DPPH) อนุมูลไฮดรอกซี และซุปเปอร์ออกไซด์ ทดสอบความสามารถในการรีดิวซ์และความสามารถในการคีเลทไอออนของโลหะ จากการทดสอบพบว่าส่วนสกัดเอทิลอะซิเตทมีฤทธิ์กำจัดอนุมูล DPPH และอนุมูลไฮดรอกซี รวมทั้งมีความสามารถในการรีดิวซ์สูงที่สุด ในขณะที่ส่วนสกัดเมทานอลของใบว่านพบว่านสาวหลงมีความสามารถในการคีเลทไอออนสูงที่สุด และเมื่อทำการศึกษาฤทธิ์ด้านเอนไซม์ไทโรซิเนส พบว่าส่วนสกัดเมทานอลจากใบว่านสาวหลงสามารถต้านอนุมูลอิสระและสามารถยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนสได้ การทดสอบฤทธิ์ต้านการอักเสบทำในเซลล์แมคโครฟาจหนู RAW264.7 ที่สัมผัสกับ LPS ส่วนสกัดเมทานอลของใบว่านสาวหลงมีประสิทธิภาพสูงที่สุดในการยับยั้งการผลิต ไนตริกออกไซด์ในเซลล์แมคโครฟาจ สารออกฤทธิ์ที่แยกได้จากส่วนสกัดเมทานอล คือ (E)-but-1-enyl-4-methoxybenzene แสดงฤทธิ์ในการยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนส และยับยั้งการผลิตไนตริกออกไซด์ในลักษณะที่ขึ้นกับความเข้มข้น ดังนั้นสาร (E)-but-1- enyl-4-methoxybenzene ที่แยกได้จากใบว่านสาวหลงนี้อาจนำไปใช้เป็นสารทำให้ผิวขาว หรือเป็นสารในการรักษาโรคที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบ Amomum biflorum Jack. (Zingiberaceae) commonly knows as wan sao long in Thai,which are commonly used in cosmetic products in Thailand. The aim of this study was to evaluate the antioxidant, anti-tyrosinase and anti-inflammatory activities of various extracts from leaves of A. biflorum. The activities compound was isolated by bioactivity-guided isolation from the plant leaves. In this study, the antioxidant acyivities of hexane, ethyl acetate and methanol extracts from leaves of Amomum biflorum Jack. Were evaluated by various antioxidant activity assays including 2,2-diphenyldrazyl (DPPH) and hydroxyl radical scavenging, reducing power and ferrous-ion chelating. The ethyl acetate extract showed the highest DPPH and hydroxyl radical scavenging activity as well as reducing power. Whereas, the methanol extract contained the most ferrous-ion chelating activity. Methanol extract also exhibited the most potent in anti-tyrosinase activity. Anti-inflammatory activity assay was performed in lipopolysaccharide (LPS)-exposed RAW 264.7 macrophages. Methanol extract of A. biflorum leaves showed the most potent inhibitory effect on LPS-induced nitric oxide (NO) production in macrophages. The activity compound (E)-but-1- enyl-4-methoxybenzene was isolated from the methanol extract and exhibited significant inhibition of tyrosinase activity. It also inhibition nitric oxide production in a dose-dependent manner. Therefore, (E)-but-1- enyl-4-methoxybenzene isolate from A. biflorum might be useful as a skin-whitening agent in cosmetic and a leading compound for treating inflammation related diseases. th_TH
dc.description.sponsorship สนับสนุนโดย สำนักบริหารโครงการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ว่านสาวหลง th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช th_TH
dc.subject สารต้านอนุมูลอิสระ th_TH
dc.subject เอนไซม์ไทโรซิเนส th_TH
dc.title การค้นหาสารออกฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ต้านอักเสบ และต้านไทโรซิเนสจากใบว่านสาวหลง th_TH
dc.title.alternative Searching for antioxidant, anti-inflammatory and antityrosinnase agents from leaves of Amomum biflorum th_TH
dc.type Research th_TH
dc.year 2555


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account