DSpace Repository

ปัญหาการออกเสียง Yo-on (เสียงพยัญชนะควบ) ของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทย

Show simple item record

dc.contributor.author ธัญญารัตน์ สงวนศรี
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:53:11Z
dc.date.available 2019-03-25T08:53:11Z
dc.date.issued 2554
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/800
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจปัญหาการออกเสียง Yo-on (เสียงพยัญชนะควบ) ของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทย เพื่อวิเคราะห์ลักษณะข้อผิดพลาดในการออกเสียง Yo-on (เสียงพยัญชนะควบ) ของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทยและเพื่อศึกาลักษณะทางประชากรของผู้เรียนที่มีผลต่อความแตกต่างในการออกเสียง Yo-on (เสียงพยัญชนะควบ) ผลการวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์โดยตรงต่อการวางแผนการสร้างแบบฝึกทักษะและการออกเสียงพยัญชนะและการวางแผนการทดลองใช้กลยุทธ์การสอนการฝึกออกเสียงภาษาญี่ปุ่นเพื่อพัฒนาความสามารถในการออกเสียงภาษาญี่ปุ่นของผู้เรียน ขอบเขตของงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยสำรวจและเก็บข้อมุลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักศึกษาวิชาเอกญี่ปุ่นระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1-4 จำนวน 120 คน จาก 2 สถาบัน โดยใช้แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปและแบบทดสอบการอ่านออกเสียงพยัญชนะควบของผู้เรียนที่พบมีหลายแบบ ได้แก่ 1)ออกเสียงพยัณชนะควบเป็นเสียงพยัญชนะเดี่ยว 2) ออกเสียงพยัญชนะควบเสียงสั้นเป็นเสียงพยัญชนะควบเสียงยาว 3)ออกเสียงพยัญชนะควบเสียงยาวเป็นเสียงพยัญชนะควบเสียงสั้น 4.)ออกเสียงพยัญชนะเดี่ยวเป็นเสียงพยัญชนะควบ 5.)ออกเสียงพยัญชนะควบไม่ชัดเจน 6)ออกเสียงพยัญชนะควบเหมือนคำในภาษาไทย 7)ออกเสียงพยัญชนะควบผิดเพี้ยนเป็นคนละเสียง และ 8)ข้อผิดพลาดอื่นๆนอกจากนี้ พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลบางประการ ได้แก่ ระดับการศึกษา ภูมิลำเนา ประการศึกษาภาษาญี่ปุ่น ประสบการณ์ในการใช้ชีวิตอยู่ที่ประเทศญี่ปุ่น สถานที่ที่ศึกษาภาษาญี่ปุ่นก่นเข้ามหาวิทยาลัย และการได้รับการสอนวิธีการออกเสียงภาษาญี่ปุ่นจากอาจารย์ในชั้นเรียนหลังเข้าเรียนมหาวิทยาลัยมีผลต่อความแตกต่างในการออกเสียงพยัญชนะควบของผู้เรียนชาวไทย th_TH
dc.description.sponsorship ได้รับทุนสนับสนุนจากงบประมาณเงินรายได้คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2554 มหาวิทยาลัยบูรพา en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ภาษาญี่ปุ่น - - การออกเสียง th_TH
dc.subject ภาษาญี่ปุ่น th_TH
dc.subject สาขาปรัชญา th_TH
dc.title ปัญหาการออกเสียง Yo-on (เสียงพยัญชนะควบ) ของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทย th_TH
dc.title.alternative Japanese pronunciation errors on "Yo-on" (Japanese contracted sounds) by Thai learners en
dc.type งานวิจัย
dc.year 2554
dc.description.abstractalternative The purpose of the study was to investigate the japanese problem encountered With Yo-on pronunciation (Japanese contracted sounds) in order to analyze Yo-on (contracted sounds) error and to study demographics affecting the contracted sound pronunciation by Thai learners studying Japanese Language. The result was useful directly to plan the form of pronunciation skill practice (the comtracted sound) and the trying out Japanese pronunciation practice pedagogy in order to improve Thai learners' capabilities of Japanese pronunciation. The scope of this study was investigated and collected data by a researcher.The simple consisted of 120 the first year to the test of 100 pronunciation item. The result found that the first year students occurred the highest pronunciation contracted sounds error, then following the second year students,the third year students and the fourth year students respectively. In other word, the sample getting high Japanese language experienced pronunced well the comtracted sounds more than the sample getting less Japanese language experienced. Moreover, the pronunciation (the contracted sounds) errors were varied as follows: 1) To pronounce the contracted sounds as a single consonant , 2) To pronounce the short contracted sound as the long consonant, 3) To pronounce the long contracted sounds as the short consonant, 4)To pronounce the single consonant as the contracted sounds, 5)To pronounce the unclear comsonant, 6)To pronounce the contracted sounds as Thai consonant, 7)To pronounce one contracted sound the other contracted sound and 8) other errors. In addition, this study revealed that some individual factor: educational level, domicile , the period of Japanese studies, living experiences in Japan, studying Japanese in school before entering the university and the pedagogy of Japanese pronunciation of Thai lecturers in classes after enrolling the university, affected the contracted sounds pronunciation by Thai learners. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account