dc.contributor.advisor |
อนุกูล บูรณประทีปรัตน์ |
|
dc.contributor.author |
ดุษฎี หลีนวรัตน์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T06:15:03Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T06:15:03Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7969 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์(วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระยะเวลาพำนักของมวลน้ำอ่าวไทยในแต่ละเดือนโดยใช้แบบจำลองอุทกพลศาสตร์แบบ 3 มิติ Princeton Ocean Model (POM) ร่วมกับแบบจำลองการแพร่กระจายของสารอนุรักษ์โดยใช้ฟังก์ชัน Remnant ในการคำนวณหาระยะเวลาพำนักเฉลี่ยของมวลน้ำ โดยมีข้อมูลเฉลี่ยระยะยาวของอุณหภูมิความเค็ม ลม และน้ำท่ารวมถึงน้ำขึ้นน้ำลงเป็นปัจจัยนำเข้าผลการศึกษาพบว่า ระยะเวลาพำนักเฉลี่ยของมวลน้ำในอ่าวไทยตอนในส่วนใหญ่จะสั้นในช่วงฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และตะวันออกเฉียงเหนือและยาวในช่วงเปลี่ยนฤดูกาลยกเว้นในเดือนมกราคมและกันยายนที่พบว่า มีระยะเวลาพำนักของมวลน้ำสูงที่สุด 219 วัน ระยะเวลาพำนักของมวลน้ำอ่าวไทยตอนในสั้นที่สุดในเดือนพฤศจิกายนโดยมีค่าเท่ากับ 101 วัน ผลที่ได้แตกต่างจากระยะเวลาพำนักเฉลี่ยของมวลน้ำอ่าวไทยทั้งอ่าวที่พบว่า ระยะเวลาพำนักของ มวลน้ำสั้นช่วงฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ โดยสั้นที่สุดในเดือนสิงหาคมประมาณ 339 วัน และระยะเวลาพำนักยาวในช่วงฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือโดยยาวที่สุดในเดือนธันวาคม ประมาณ 571 วัน ผลการทดสอบอิทธิพลจากปัจจัยนำเข้าพบว่า ลมเป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงเชิงเวลาของระยะเวลาพำนักของมวลน้ำขึ้นน้ำลงส่งผลให้มีระยะเวลาพำนักนานขึ้น ส่วนน้ำท่ามีผลเพียงเล็กน้อยต่อระยะเวลาพำนักนอกจากนี้ยังพบว่า อิทธิพลของมวลน้ำจากทะเลจีนทำให้ระยะเวลาพำนักของอ่าวไทยสั้นลงในทุก ๆ เดือน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ระยะเวลาพำนักของมวลน้ำเฉลี่ยในกรณีการเปลี่ยนปัจจัยนำเข้าตามเวลาพบว่า ให้ผลที่มีค่าใกล้เคียงกันไม่ว่าจะเริ่มต้นการคำนวณจากเดือนใด |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
กระแสน้ำ |
|
dc.subject |
กระแสน้ำ -- อ่าวไทย |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวาริชศาสตร์ |
|
dc.subject |
มวลน้ำ -- อ่าวไทย |
|
dc.title |
การศึกษาเวลาพำนักของมวลน้ำในอ่าวไทยโดยใช้แบบจำลองอุทกพลศาสตร์ |
|
dc.title.alternative |
The investigtion of the residence time of wter mss in the gulf of thilnd by using hydrodynmic model |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
This study aims to investigate the residence time of water mass in the Gulf of Thailand (GoT) in each month by using a three-dimensional hydrodynamic model namelyPrinceton Ocean Model (POM) coupled with the dispersion model and Remnant function. Climatological data of water temperature, salinity, wind and discharge including water elevation from harmonic analysis were used as inputs in the simulation. The results reveal that the average residence time of water mass in the Inner GoT (IGoT) during the southwest monsoon (SW) and the northeast monsoon (NE) are shorter than those during the transition periods, except in January and September. The longest residence time (219 days) occurs in January and September while the shortest residence time (101 days) occurs in November. The residence time of water mass in the whole GoT is short during SW with the shortest in August ( 339 days) and long during NE with the longest in December (571 days) . The results from sensitivity analysis suggest that wind be a significant factor to control the seasonal variation in residence time in this area. Tidal current makes the residence time longer while the influence of discharge on the residence time is minimal. The influence of SCS makes the residence time of water mass in GoT shorter in every month, especially during SW. The average residence time in the case of time-varying inputs was found to be similar regardless of the initial months. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
วาริชศาสตร์ |
|
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|