dc.contributor.advisor |
ถนอมศักดิ์ บุญภักดี |
|
dc.contributor.advisor |
ชูตา บุญภักดี |
|
dc.contributor.advisor |
อภิญญา นวคุณ |
|
dc.contributor.author |
ธนวันต์ ผาดำ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T04:16:44Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T04:16:44Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7597 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อระบุแหล่งที่มาและการเพิ่มกำลังทางชีวภาพของปิโตรเลียมไฮโดรคาร์บอนในระบบนิเวศทางทะเลบริเวณอ่าวพร้าว เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง ซึ่งเกิดเหตุการณ์น้ำมันดิบรั่วไหลในวนั ที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 โดยใช้ไอโซโทปเสถียรของคาร์บอน (δ 13C) และไนโตรเจน (δ 15N) เพื่อประเมินลำดัลการกินในห่วงโซ่อาหารของสิ่งมีชีวติที่ได้รับผลกระทบ ผลการศึกษาพบว่า ปริมาณ δ 13C และ δ 15N ในสิ่งมีชีวติอยู่ในช่วงระหว่าง -22.65 ถึง -10.24‰ และ 1.93 ถึง 9.22‰ ตามลำดับ โดยปริมาณ δ 13C ในแพลก์ตอนพืชต่ำสุดอยู่ที่ -22.65 ± 0.6‰ และในปลิงทะเลสูงสุดอยู่ที่-10.24 ± 0.56‰ ส่วนปริมาณ δ 15N ในสาหร่ายหน้าดินต่ำสุดอยู่ที่ 1.93‰ และในหอยสังข์หนามสูงสุดอยู่ที่ 9.22 ± 0.25‰ จากผลดังกล่าวจึงแบ่งลำดับการกินในห่วงโซ่อาหารของระบบนิเวศทางทะเลบริเวณอ่าวพร้าวได้ 3 ระดับชั้น ดังนี้ ผู้ผลิต (แพลงก์ตอนพืช) ผู้บริโภค อันดับที่ 1 (กลุ่มหอยสองฝา) และผู้ล่า (หอยสังข์นาม) นอกจากนี้พบว่าโครมาโทแกรมในทาร์บอลหอยครก และหอยสังข์หนาม มีความคล้ายคลึงกับโครมาโทแกรมในน้ำมันดิบที่รั่วไหลเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 แสดงให้เห็นถึงการเพิ่มกำลังทางชีวภาพของสารประกอบปิโตรเลียมไฮโดรคาร์บอนเข้าสู่ห่วงโซ่อาหารของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศบริเวณอ่าวพร้าว โดยผลการศึกษาครั้งนี้สามารถยืนยันได้ว่าหอยสังข์นาม (Chicoreus brunneus) เป็นสิ่งมีชีวิตที่อยู่ลำดับสูงสุดของห่วงโซ่อาหาร และเหมาะสมสำหรับใช้เป็นสิ่งมีชีวิตในการตรวจสอบการสะสมของสารประกอบปิโตรเลียมไฮโดรคาร์บอนที่ตกค้างยาวนานในระบบนิเวศทางทะเลในพื้นที่ที่เกิดการรั่วไหลของน้ำมันดิบในอนาคตได้ |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
ปิโตรเลียม -- ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม -- อ่าวพร้าว (ระยอง) |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม |
|
dc.subject |
นิเวศวิทยาทะเล -- อ่าวพร้าว (ระยอง) |
|
dc.subject |
ไฮโดรคาร์บอน -- ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม -- อ่าวพร้าว (ระยอง) |
|
dc.title |
แหล่งที่มาและการเพิ่มกำลังทางชีวภาพของปิโตรเลียมไฮโดรคาร์บอนในระบบนิเวศทางทะเลบริเวณอ่าวพร้าว เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง |
|
dc.title.alternative |
Source nd biomgnifiction of petroleum hydrocrbon in mrine ecosystem t Ao Pro, Koh Smet, Ryoung Province |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
This research aims to identify source and biomagnification of petroleum hydrocarbon, in marine ecosystem at Ao Prao Koh Samet, where impacted by Rayong oil spill incident on July 27, 2013. Stable isotopes of carbon (δ 13C) and nitrogen (δ 15N) were used to estimate trophic positions of impacted organisms in food webs. The values of δ 13C and δ 15N in marine organisms ranged from -22.65 to -10.24‰ and from 1.93 to 9.22‰, respectively. The values of δ 13C in phytoplankton were lowest (-22.65 ± 0.6‰) and highest in sea cucumber (-10.24 ± 0.56‰). In addition, the values of δ 15N in benthic algae were lowest (1.93‰) and highest in Chicoreus brunneus (9.22 ± 0.25‰). According to δ 13C and δ 15N results, three trophic levels of marine organisms as producer (phytoplankton), primary consumer (bivalves) and predator (gastropods) were revealed. The results of GC-MS chromatograms showed tar balls, primary consumer and predator organisms were similar. This suggests that source of petroleum hydrocarbon in those marine creatures were derived from oil spill disaster. δ 13C and δ 15N signatures illustrate that Chicoreus brunneus was a top predator in the food chain. Therefore, it can be used to monitor biomagnification of long-term hydrocarbon residues in marine ecosystems for any further spills. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม |
|
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|