DSpace Repository

พลวัตทางสังคมและเศรษฐกิจของชุมชนในพื้นที่อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง (พ.ศ. 2498-2560)

Show simple item record

dc.contributor.advisor ภารดี มหาขันธ์
dc.contributor.advisor บุญเชิด หนูอิ่ม
dc.contributor.author เกียรติศักดิ์ ทิพย์ทิมาพันธ์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T04:02:44Z
dc.date.available 2023-05-12T04:02:44Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7523
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract ดุษฎีนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงพลวัตทางสังคมและเศรษฐกิจและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจและสังคมและวัฒนธรรมของชุมชนในพื้นที่อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง ในช่วง พ.ศ. 2498-2560 ตลอดจนศักยภาพในการปรับตัวและอนาคตภาพของชาวชุมชนในพื้นที่บ้านฉาง โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลส่งผลต่อพลวัตทางสังคมและเศรษฐกิจของชุมชนในพื้นที่อําเภอบ้านฉางจังหวัดระยอง มีทั้งปัจจัยจากภายในและปัจจยจากภายนอกซึ่งได้แก่ ที่ตั้งความอุดมสมบรูณ์ของทรัพยากรธรรมชาติความหลาหหลายของประชากรและวัฒนธรรมรวมไปถึงนโยบายของรัฐบาลไทยแต่ละช่วงเวลา เช่น ระบบการคมนาคมทางถนน การตัดสินใจ เข้าร่วมเป็นสมาชิกองค์กรสนธิสัญญาร่วมป้องกันแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ส.ป.อ.-SEATO) การเข้ามาของฐานทัพสหรัฐอเมริกาการถอนทัพ โครงการพัฒนาชายฝงทะเลภาคตะวันออก (Eastern Sea Board Project) โครงการระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastren Economic Corridor) แต่ละปัจจัยนํามาซึ่งการเปลี่ยนแปลงอย่างกว้างขวางและรวดเร็วคนในพื้นที่ (ดั่งเดิม) ต้องเรียนรู้และปรับตัวอย่างมากครั้งแล้วครั้งเล่า ประสพความสําเร็จบ้างไม่ประสพความสําเร็จบ้าง อย่างต่อเนื่องกว่ากึ่งศตวรรษ บ้านฉางจึงกลายเป็นเมืองที่มีการพัฒนาเพื่อเป็นที่พักอาศัยของคนที่มาทํางานในนิคมอุตสาหกรรมและปัญหาจากการพัฒนาที่จะต้องพัฒนาหาจุดสมดุลต่อไป สิ่งที่ค้นพบในชุมชนอําเภอบ้านฉาง เมื่อความเจริญจากภาคอุตสาหกรรมตามนโยบายของรัฐบาล วิถีการดํารงชีวิตดั่งเดิมบางอย่างหายไปโดยสิ้นเชิงและเห็นได้ชัดเจน เช่น การทํากะปิและน้ำปลาของหมู่บ้านพลานั้นไม่มีแล้วการขายผลิตภัณฑ์นั้นนาจากชุมชนอื่น เพราะเนื่องจากไม่มีเคยให้จับและรวมถึงกฎหมายห้ามใช้อวนตาเล็กบริเวณชายฝั่งทําให้ไม่มีปลาในการทําน้ำปลา พื้นที่ที่เคยเป็นที่ทําการเกษตรจะพัฒนาเพื่อเป็นที่พักอาศัยมากขึ้น
dc.language.iso th
dc.publisher คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject สังคมวิทยาชนบท
dc.subject วัฒนธรรมชุมชน
dc.subject คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject พลวัต
dc.title พลวัตทางสังคมและเศรษฐกิจของชุมชนในพื้นที่อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง (พ.ศ. 2498-2560)
dc.title.alternative Socil nd economic dynmics of bn chng communities, ryong (b.e. 2498 to 2560)
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This dissertation the purpose of this study was to study the social and economic dynamics and factors affecting the socio-economic and cultural changes of the community in Ban Chang district, Rayong province during the period from 1955-2017 analyze in ability of adaptation and future of the community in Ban Chang district. Is a qualitative research From the study indicated that factors that influencing dynamic in society and community economics in Bangchang district in Rayong province has internal factors and also external factors which including the location and the exuberance of natural resources diversity of population and Thai culture. Moreover, it also including Thai government policies in each period for instance transportation system. Deciding to join the Association of Southeast Asian Protected areas (SEATO) The arrival of the USA military base the withdrawal of the Eastern Sea Board Project, the East Economic Economic Corridor, each of which led to widespread change rapidly. People in the area (original) need to learn and adjust many times over continually over a half century. Ban Chang was becoming a city that hasbeen developed as a residence for people working in industrial estates and there are developmental problems that need to be continuily finding the stability point. Things that was discovered in Ban Chang Community when the prosperity of industry from government policy some of the old traditional of living are completely lost and clearly seen, such as the shrimp paste and fish sauce of the village of Pala, then the sale of the product was brought from another community. Because there are no catching policies include the law of do not use a small fisheye on the shore, no fish in the fish sauce. The area that used to be an agricultural area will be developed to be more residential.
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline ไทยศึกษา
dc.degree.name ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account