dc.contributor.author |
ธเนศร์ โรจน์ศิรพิศาล |
th |
dc.contributor.author |
นิติมา อัจฉริยะโพธา |
th |
dc.contributor.author |
อุษา วรรณสิงห์ ฮัมฟรี่ |
th |
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T08:53:01Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T08:53:01Z |
|
dc.date.issued |
2552 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/687 |
|
dc.description.abstract |
พลังงานน้ำมันซึ่งเป๋นพลังงานหลักที่ใช้อยู่ในปัจจุบันมีแนวโน้มที่จะหมดไป ทำให้พลังงานน้ำมันมีราคาสูงขึ้น การหาแหล่งพลังงานทดแทนจึงมีความจำเป็นเพื่อใช้ทดแทนพลังงานน้ำมันในอนาคต ในงานวิจัยนี้ต้องการศึกษาหาประสิทธิภาพของแหล่งพลังงานจากคลื่นในทะเลอันดามันโดยใช้แบบจำลองเชิงตัวเลขทางทะเลสำหรับคลื่นในบริเวณใกล้ชายฝั่ง ระหว่างช่วงปี ค.ศ. 2000-2009
ผลการวิจัยพบว่าปริมาณการถายเทพลังงานระหว่างเดือน พฤษภาคม ถึง สิงหาคม จะมีค่าสูงโยปริมาณการถ่ายเทพลังงานสะสมสูงสุดประมาณ 0.8 m3 / s ในเดือนกรกฎาคม และทิศทางการถ่ายเทพลังงานในช่วงฤดูร้อนไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ สำหรับการถ่ายเทใยช่วงฤดูหนาว (พฤศจิกายน ถึง มกราคม) มีทิศทางการถ่ายเทไปทางทิศใต้แต่มีปริมาณการถ่ายเทน้อยกว่าช่วงฤดูร้อน สำหรับปริมาณการถ่ายเทพลังงานในบริเวณใกล้ชายฝั่งของประเทศไทยพบว่า บริเวณที่มีปริมาณการถ่ายเทพลังงานเฉลี่ยสูงกว่า 0.055 m3 / s อยู่ในบริเวณ 96 - 97 องศาE, 9- 11 องศาN และ 95.8 - 96.2 องศาE, 9 - 9.3 องศาN |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
ได้รับทุนอุดหนุนการิจัยงบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยบูรพา. |
th_TH |
dc.subject |
การถ่ายเทพลังงาน |
th_TH |
dc.subject |
คลื่นทะเล - - ทะเลอันดามัน - - แบบจำลอง |
th_TH |
dc.subject |
พลังงานทดแทน - - แบบจำลอง - - ทะเลอันดามัน |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย |
th_TH |
dc.subject |
แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ |
th_TH |
dc.title |
การศึกษาแหล่งพลังงานทดแทนจากคลื่นในบริเวณทะเลอันดามันโดยใช้แบบจำลองเชิงตัวเลข. |
th_TH |
dc.title.alternative |
Study of ocean current energy in the andaman sea using a numerical ocean model |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.year |
2552 |
|