dc.contributor.advisor |
อนันต์ อธิพรชัย |
|
dc.contributor.author |
รุ่งนภา คำแพง |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:12:17Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:12:17Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6619 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาหาปริมาณสารประกอบฟีนอลิกและสารประกอบฟลาโวนอยดรวม และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระรวมถึงฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์แอลฟา-กลูโคซิเดสของส่วนสกัดหยาบ จากน้ำมันหอมระเหยและส่วนสกัดหยาบที่สกัดด้วยตัวทำละลายอินทรีย์ชนิดต่าง ๆ 7 ชนิด คือ เฮกเซน ไดคลอโรมีเทน เอทิลอะซิเตท อะซิโตน เอทานอลเมทานอลและน้ำจากพืชวงศ์ส้ม 3 ชนิด คือ ส่องฟ้าดง ส่องฟ้าและสันโสกจากการทดลองพบว่า ส่วนสกัดหยาบน้ำมันหอมระเหยของส่องฟ้าดงมีฤทธิ์ในการยับยั้งอนุมูลอิสระ (78.08±0.25 %) และยับยั้งเอนไซม์แอลฟา-กลูโคซิเดส (99.56±0.55 %) ดีที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับปริมาณฟีนอลิกรวมที่พบในน้ำมันหอมระเหยของส่องฟ้าดง (45.65±0.50 mgGAE/g) มากที่สุดด้วยในส่วนผลการทดลองการสกัดพืชวงศ์ส้มทั้ง 3 ชนิด ด้วย ตัวทำละลายอินทรีย์นี้ยังพบว่า พืชวงศ์ส้มทั้ง 3 ชนิด นั้นมีปริมาณฟีนอลิกรวมเท่า ๆ กัน (5.57±0.11 ถึง 105.79±5.06 mgGAE/g) โดยส่วนสกัดจากรากของพืชวงศ์ส้มทั้ง 3 ชนิด จะมีปริมาณฟีนอลิก รวมสูงที่สุด เมื่อสกัดด้วยตัวทำละลายที่มีขั้วน้อยถึงปานกลาง และจากการศึกษาปริมาณสารประกอบฟลาโวนอยด์รวมของพืชวงศ์ส้มทั้ง 3 ชนิด พบว่า มีปริมาณฟลาโวนอยด์น้อยมาก เมื่อนำทุกส่วนสกัดหยาบของพืชวงศ์ส้มทั้ง 3 ชนิด ทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ พบว่า พืชวงศ์ส้มทั้ง 3 ชนิด มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระที่ดีพอ ๆ กัน (6.92±0.32 ถึง 96.54±0.25 %) ในส่วนสกัด ตัวทำละลายที่มีขั้วน้อยถึงปานกลาง นอกจากนี้ยังพบว่า ส่วนสกัดหยาบของสันโสกในทุก ๆ ตัวทำละลายยกเว้น น้ำมีฤทธิ์ในการยับยั้งเอนไซม์แอลฟา-กลูโคซิเดสดีที่สุด (0.32±0.43 ถึง 99.94±0.59 %) และดีกว่าสารมาตรฐานอคาร์โบส (84.27±0.93 %) อีกด้วย |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
สารประกอบฟีนอล |
|
dc.subject |
เคมี |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเคมีศึกษา |
|
dc.subject |
ส้ม |
|
dc.title |
การศึกษาทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพจากพืชในวงศ์ส้ม |
|
dc.title.alternative |
Chemistry nd biologicl ctivity studies from three rutcee plnts |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
This research studied the total phenolic and flavonoid contents as well as antioxidant activity and evaluated alpha-glucosidase inhibitory activity of essential oil and solvent extracts from three Rutaceae plants including Clausena harmandiana, Clausenaguillauminii and Clausena excavate. The solvents used in the extraction were hexane, dichloromethane, ethyl acetate, acetone, ethanol, methanol and water. The essential oil extract of C. harmandiana showed highest antioxidant activity (78.08±0.25 %) and also showed highest alpha-glucosidase inhibitory activity (99.56±0.55 %). From these result related with the total phenolic content of essential oil extract from C. harmandiana which showed highest the total phenolic content with the value as 45.65±0.50 mgGAE/g. In addition, the all solvent extracts of three Rutaceae plants showed good the total phenolic content with the value as 5.57±0.11 to 105.79±5.06 mgGAE/g. The root extracts of three Clausena plants showed highest total phenolic content in nonpolar solvents. In the other hand, all extracts of these plants showed very low total flavonoid content. All Clausena plants extracts showed strong to modulate antioxidant activity with the value as 6.92±0.32 to 96.54±0.25 % in nonpolar solvents. Moreover, all of C.excavata extracts except water extract showed highest alphaglucosidase inhibitory activity with the value as 0.32±0.43 to 99.94±0.59 % and their also showed more active than standard drug acarbose (84.27±0.93 %).- |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
เคมีศึกษา |
|
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|