dc.contributor.advisor |
อนันต์ อธิพรชัย |
|
dc.contributor.author |
รำพึง โพธิ์ศรี |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:12:17Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:12:17Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6617 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาหาปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวม สารประกอบฟลาโวนอยด์รวม ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์อะซิทิลโคลีนเอสเทอเรสของส่วนสกัดหยาบจากส่วนต่าง ๆ ของแจง จากผลการทดลอง พบว่า ส่วนสกัด หยาบชั้นน้ำจากทุกส่วนของแจง มีปริมาณฟีนอกลิกรวมสูงที่สุด (10.01±0.60 ถึง 154.15±0.75 mgGAE.g-1 ) และทุกสารสกัดหยาบของแจงมีปริมาณฟลาโวนอยด์รวมน้อยมาก ส่วนการศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ DPPH พบว่า ที่ความเข้มข้น 2000 μg/mL ส่วนสกัดหยาบชั้นอะซิโตนและน้ำจากเปลือก ลำต้นแสดงฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ DPPH สูงที่สุด เท่ากับ 90.88±0.75% และ 87.34±0.28% ตามลำดับ นอกจากนี้ทุกส่วนสกัดหยาบของแจง ยกเว้น ส่วนสกัดหยาบจากรากแจงนั้น มีฤทธิ์ในการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ลิพอกซิเดสได้ดีเทียบเท่ากับสารมาตรฐานเคอร์ซิติน (95.04±0.93%) ยิ่งไปกว่านั้น ส่วนสกัดหยาบจากใบและกิ่งแจงยังแสดงฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์อะซิทิลโคลีนเอสเทอเรสได้ดีอีกด้วย |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
สารประกอบฟีนอล |
|
dc.subject |
เคมีวิเคราะห์ |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเคมีศึกษา |
|
dc.subject |
แจง (พืช) |
|
dc.title |
การศึกษาทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพของแจง |
|
dc.title.alternative |
Chemistry nd biologicl ctivity studies of meru simensis |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
This research was performed to evaluate the total phenolic and total flavonoid contents and antioxidant activity as well as lipoxidase and acetylcholinesterase inhibitory activities from several part extracts of Mearua siamensis. As the results, all water extracts showed highest total phenolic content (10.01±0.60 to 154.15±0.75 mgGAE.g-1 ) while all extracts of M. siamensis showed low total flavonoid content. In antioxidant activity found that acetone and water extracts from stem bark of this plant showed highest DPPH free radical scavenging inhibitory activity at 2000 μg/mL with the values as 90.88±0.75% and 87.34±0.28%, repectively. In addition, all of M. siamensis extracts except the root extracts showed strongest lipoxidase inhibitory activity and their also showed as active as standard quercetin (95.04±0.93%). Moreover, all extracts from leaves and twigs of M. siamensis also showed highest acetylcholinesterase inhibitory activity |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
เคมีศึกษา |
|
dc.degree.name |
วทวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|