DSpace Repository

ความเคลือบแคลงใจของผู้บริโภคและทัศนคติต่อสาร แบรนด์ และองค์กรสื่อสังคมออนไลน์ที่ใช้การตลาดแบบหว่าน

Show simple item record

dc.contributor.advisor ชมพูนุช ปัญญไพโรจน์
dc.contributor.author นันทิตา ทรงโยธิน
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:08:56Z
dc.date.available 2023-05-12T03:08:56Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6582
dc.description วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษา ความเคลือบแคลงใจของผู้บริโภคและทัศนคติของผู้บริโภคต่อสาร แบรนด์ และองค์กรสื่อสังคมออนไลน์ที่ใช้การทำตลาดแบบหว่านโดยใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริโภคชาวไทยที่มีอายุระหว่าง 18-45 ปี เคยมีประสบการณ์ใช้สื่อสังคมออนไลน์ จำนวน 400 คน โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบสะดวกข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ถูกวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมาน ผลการวิจัยพบว่า ความเคลือบแคลงใจของผู้บริโภคที่มีต่อสารที่ใช้การตลาดแบบหว่านในสื่อสังคมออนไลน์มีความสัมพันธ์กับทัศนคติของผู้บริโภคต่อสารและต่อแบรนด์ที่ใช้การตลาดแบบหว่านในสื่อสังคมออนไลน์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ 0.05 ตามลำดับ แต่ไม่พบความสัมพันธ์กับทัศนคติของผู้บริโภคต่อองค์กรสื่อที่นำเสนอสารที่มาจากการตลาดแบบหว่านในสื่อสังคมออนไลน์ ทัศนคติของผู้บริโภคต่อสารที่ใช้การตลาดแบบหว่านใสสื่อสังคมออนไลน์มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับต่ำกับทัศนคติของผู้บริโภคต่อแบรนด์ที่ใช้การตลาดแบบหว่านในสื่อสังคมออนไลน์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ทัศนคติของผู้บริโภคต่อสารที่ใช้การตลาดแบบหว่านในสื่อสังคมออนไลน์ไม่มีความสัมพันธ์กับทัศนคติของผู้บริโภคต่อองค์กรสื่อที่นำเสนอสารที่มาจากการตลาดแบบหว่านในสื่อสังคมออนไลน์ และทัศนคติของผู้บริโภคต่อแบรนด์ที่ใช้การตลาดแบบหว่านในสื่อสังคมออนไลน์มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับทัศนคติของผู้บริโภคต่อองค์กรสื่อที่นำเสนอสารที่มาจากการตลาดแบบหว่านในสื่อสังคมออนไลน์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
dc.language.iso th
dc.publisher คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการสื่อสารการตลาด
dc.subject พฤติกรรมผู้บริโภค
dc.subject การตลาดอินเทอร์เน็ต
dc.subject ผู้บริโภค -- ทัศนคติ
dc.title ความเคลือบแคลงใจของผู้บริโภคและทัศนคติต่อสาร แบรนด์ และองค์กรสื่อสังคมออนไลน์ที่ใช้การตลาดแบบหว่าน
dc.title.alternative Consumers' skepticism nd ttitudes towrd seeding mrketing messges, brnds nd medi orgniztions
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purpose of this research is to study Consumers? Skepticism and Consumers' attitudes toward seeding messages, brands and media organizations via social media that used seeding marketing technique and their relationship. A survey research was conducted by using a questionnaire. The samples were 400 Thai consumers between the ages of 18 and 45 years who had social media experiences and they were selected by using convenient sampling. The data in this research was analyzed using descriptive statistics and inferential statistics. The research found that there was a Consumers? skepticism of seeding marketing messages via social media correlate to consumers' attitudes toward the messages and to the brand that is used to seeding marketing on social media significant differences (p <= 0.01). and (p <= 0.05) respectively. However, no relationship was found with consumer attitudes towards media organizations. There was a low positive relationship between consumers' attitudes toward seeding messages via social media and their attitudes toward brandssignificant differences (p <= 0.01). There was not a relationship between consumers' attitudes toward seeding messages via social media and their attitudes toward media organizations. There was a moderate positive relationship between consumers' attitudes toward brand via and their attitudes toward media organization significant differences (p <= 0.01).
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การสื่อสารการตลาด
dc.degree.name นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account