dc.contributor.advisor |
สุชาดา รัตนวาณิชย์พันธ์ |
|
dc.contributor.author |
สิริน มีชัย |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:08:53Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:08:53Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6572 |
|
dc.description |
งานนิพนธ์ (ศศ.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลวิธีการแปลสานวนและภาษาภาพพจน์ในเนื้อร้องของบท เพลงภาษาอังกฤษที่ปรากฎในภาพยนตร์การ์ตูนวอลท์ดิสนีย์ แปลโดยธานี พูนสุวรรณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ เนื้อร้องของบทเพลงภาษาอังกฤษที่ปรากฎในการ์ตูนวอลท์ดิสนีย์ รวมทั้งสิ้น 32 บทเพลง จากภาพยนตร์การ์ตูนวอลท์ดีสนีย์ที่มีชื่อเสียงที่เข้าฉายในประเทศไทยช่วงปี 2003-2014 จานวนห้าเรื่อง โดยงานวิจัยนี้ ได้ใช้กรอบกลวิธีการแปลสานวนและภาษาภาพพจน์ของ เบเคอร์ (Baker, 2011) เป็นแนวทางหลักในวิเคราะห์บทเพลงสถิติข้อมูลในครั้งนี้ประกอบด้วยค่าความถี่และค่าเฉลี่ย ผลของงานวิจัยสามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้ 1. กลวิธีการแปลที่พบมากที่สุดของการแปลสานวนในเนื้อร้องของบทเพลงภาษาอังกฤษที่ปรากฎ ในภาพยนตร์การ์ตูนวอลท์ดีสนีย์คือ กลวิธีการแปลแบบถอดความ คิดเป็นร้อยละ 27.5 กลวิธีการแปลแบบใช้ สานวนเทียบเคียง คิดเป็นร้อยละ 25.5 กลวิธีการแปลแบความหมายตรงตัว คิดเป็นร้อยละ 23.5 กลวิธีการแปลแบบละสำนวน คิดเป็นร้อยละ 13.7 ตามลาดับ ส่วนกลวิธีการแปลที่พบน้อยที่สุดคือ กลวิธีการแปลแบบละการเล่นสำนวน คิดเป็นร้อยละ 9.8 นอกจากนี้ พบว่า ไม่มีการใช้กลวิธีการแปลแบบยืมสานวนในเนื้อร้องของบทเพลงภาษาอังกฤษทั้ง 32 บทเพลง 2. กลวิธีการแปลที่พบมากที่สุดของการแปลภาษาภาพพจน์ในเนื้อร้องของบทเพลงภาษาอังกฤษที่ ปรากฎในภาพยนตร์การ์ตูนวอลท์ดีสนีย์คือ กลวิธีการแปลแบบถอดความ คิดเป็นร้อยละ 55.7 กลวิธีการแปล แบบใช้รูปแบบและความหมายตรงตัว คิดเป็นร้อยละ 21.9 กลวิธีการแปลแบบการใช้สานวนเทียบเคียง คิดเป็นร้อยละ 10.5 กลวิธีการแปลแบบละสานวน คิดเป็นร้อยละ 6.7 และกลวิธีการแปลแบบละการเล่นสานวน คิดเป็นร้อยละ 3.8 ตามลาดับ นอกจากนี้พบว่า กลวิธีการแปลที่พบน้อยที่สุดคือ กลวิธีการแปลแบบการยืมสานวน คิดเป็นร้อยละ 1.4 3. เมื่อได้แยกประเภทภาพพจน์ออกมาแล้ว พบว่า ประเภทภาษาภาพพจน์สามอันดับแรกที่มีการใช้ ในเนื้อร้องของบทเพลงภาษาอังกฤษที่ปรากฎในภาพยนตร์การ์ตูนวอลท์ดีสนีย์ ได้แก่ ประเภทอติพจน์ ประเภทบุคลาธิษฐาน และประเภทปฏิปุจฉา โดยทั้งสามประเภทมีการใช้กลวิธีการแปลถอดความมากที่สุด คือ ภาพพจน์ประเภทอติพจน์ คิดเป็นร้อยละ 58.53 ภาพพจน์ประเภทบุคลาธิษฐาน คิดเป็นร้อยละ 69.69 และภาพพจน์ประเภทปฏิปุจฉาพบ คิดเป็นร้อยละ 63.15 ตามลาดับประเภทที่พบ |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
ภาษาอังกฤษ -- การแปล |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร |
|
dc.title |
กลวิธีการแปลสำนวนและภาษาภาพจน์ในเนื้อร้องของบทเพลงภาษาอังกฤษที่ปรากฎในภาพยนตร์การ์ตูนวอลท์ดิสนีย์ แปลโดย ธานี พูนสุวรรณ |
|
dc.title.alternative |
Trnsltion strtegies of idioms nd figurtive lnguges in wlt disney's song lyrics trnslted by thnee poonsuwn |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
This study aims at studying translation strategies of idioms and figurative languages appearing in Walt Disney’s song lyrics translated by Thanee Poonsuwan. The samples employed in this study comprised 32 Disney’s song lyrics from five famous Walt Disney films which were shown in Thailand during 2003-2014. The translation strategies used in this study were based on Baker’s idiom translation strategies. The statistical tests for data analysis included frequency and means. The findings were as follows: 1. The highly used translation strategy for idioms was the strategy of paraphrase ( = 27.5), followed by the strategy of using an idiom of similar meaning but dissimilar form ( = 25.5), the strategy of using an idiom of similar meaning and form ( = 23.5), and the strategy of omission of entire idioms ( = 13.7), respectively. Also, it was found that the strategy of omission of a play on idiom was used at the lowest frequency ( = 9.8). Furthermore, the strategy of borrowing the source language idiom had no use in translating 32 Disney's song lyrics. 2. For figurative languages, the highly used translation strategy for figurative languages was the strategy of paraphrase ( = 55.7), followed by the strategy of using an idiom of similar meaning and form ( = 21.9), the strategy of using an idiom of similar meaning but dissimilar form ( = 10.5), the strategy of omission of entire idioms ( = 6.7), and the strategy of omission of a play on idioms ( = 3.8), respectively. Also, it was found that the strategy of borrowing the source language idioms was used at the lowest frequency ( = 1.4). 3. Regarding the type of figurative languages, it was found that the translation strategy of paraphrase was highly used to translate the type of figurative language of ( = 58.53); personification ( = 69.69); and rhetorical question ( = 63.15), respectively. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร |
|
dc.degree.name |
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|