DSpace Repository

การวิเคราะห์โวหารภาพพจน์ที่ใช้ในพาดหัวโฆษณารถยนต์ทางหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์

Show simple item record

dc.contributor.advisor สมบูรณ์ เจตน์จำลอง
dc.contributor.author ธารีรัตน์ มูลเครือคำ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:08:53Z
dc.date.available 2023-05-12T03:08:53Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6571
dc.description งานนิพนธ์ (ศศ.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยครัง้ นีมี้วัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์โวหารภาพพจน์ที่ใช้ในพาดหัวโฆษณารถยนต์ที่ พบในหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยครัง้ นี ้คือ พาดหัวโฆษณารถยนต์ใน หนังสือพิมพ์ฉบับที่ตีพิมพ์ ตัง้ แต่วันที่ 1 เมษายน 2556 ถึงฉบับวันที่ 30 กันยายน 2556 รวม ทัง้ หมด 183 ฉบับ การวิจัยครัง้ นีมี้รูปแบบงานวิจัยแบบผสมผสาน โดยมีการวิเคราะห์ข้อมูลตาม กรอบแนวความคิดของ Leigh (1994) จากนัน้ แจกแจงความถี่ของประเภทโวหารภาพพจน์ที่ถูก นามาใช้มากที่สุดด้วยวิธีทางสถิติเชิงพรรณนา ผลการวิจัยปรากฏว่ามีการใช้โวหารภาพพจน์ 27 ประเภทในพาดหัวโฆษณารถยนต์ของ หนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ ได้แก่ จินตภาพ กล่าวเกินจริง อุปนิเสธ การเล่นคา อุปมา การอ้างถึง ปริทรรศน์ คาล้อเลียน นามนัย การเล่นคากริยา สานวนอ้อมค้อม อุปลักษณ์ บุคลาธิษฐาน การวางเข้าด้วยกันของคาหรือประโยค การสัมผัสสระ การสัมผัสอักษร การซา้ คาสุดท้าย จุดสูงสุด การละความ สัมผัสใน การเน้นซา้ คา การวางลักษณะคาให้ขนานกัน การมีสันธานหลายคา คาขัดแย้งกัน การซา้ ความหมาย สัมผัสคาท้าย และการกล่าวซา้ โวหารภาพพจน์ที่พบมากที่สุด เป็นอันดับที่ 1 ได้แก่ จินตภาพ คิดเป็นร้อยละ 23.81 โดยมีการใช้โวหารภาพพจน์ประเภท Tropes (ร้อยละ 88.09) มากกว่า Schemes (ร้อยละ 69.05)
dc.language.iso th
dc.publisher คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
dc.subject โฆษณา -- รถยนต์
dc.subject โฆษณาทางหนังสือพิมพ์
dc.title การวิเคราะห์โวหารภาพพจน์ที่ใช้ในพาดหัวโฆษณารถยนต์ทางหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์
dc.title.alternative An nlysis of rhetoricl figures used in cr dvertisements hedlines of the bngkok post
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to analyze of rhetorical figures used in car advertisements headlines found in the Bangkok Post. The subject of this study was car advertisements headlines of the Bangkok Post published from 1st April, 2013 to 30th September, 2013,183 newspapers in total. This research was a mixed methods design. The data were analyzed using Leigh (1994) framework as a guideline, and through descriptive statistics. The results indicated that 27 rhetorical figures were found in the headlines: Imagery, Hyperbole, Litotes, Other Types of Puns, Simile, Allusion, Paradox, Parody, Metonymy, Syllepsis, Periphrasis, Metaphor, Personification, Apposition, Assonance, Alliteration, Epistrophe, Climax, Ellipsis, Internal Rhyme, Anaphora, Parallelism, Poloysyndeton, Antithesis, Polyptoton, End Rhyme and Repetition. The rhetorical figure mostly found was Imagery (23.81%). In particular, Tropes (88.09%) were more frequently found in the headlines than schemes (69.05%).
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account