DSpace Repository

ท้าวเวสสุวัณในสังคมและวัฒนธรรมไทย

Show simple item record

dc.contributor.advisor ภารดี มหาขันธ์
dc.contributor.advisor มนัส แก้วบูชา
dc.contributor.author กิติยวดี ชาญประโคน
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:08:52Z
dc.date.available 2023-05-12T03:08:52Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6569
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมาและบทบาทของท้าวเวสสุวัณ เพื่อวิเคราะห์บทบาทและรูปแบบของท้าวสุวัณในสังคมและวัฒนธรรมไทยตั้งแต่อดีต-ปัจจุบัน และเพื่อสังเคราะห์สถานภาพในปัจจุบันของบทบาทของท้าวเวสสุวัณที่ปรากฏในสังคมและวัฒนธรรมไทยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ และนํากรอบแนวคิดของกรมศิลปากรในส่วนของวัฒนธรรมมาใช้ในการวิจัยโดยเก็บข้อมูลจากการศึกษาเอกสารและการศึกษาภาคสนามในแหล่งข้อมูลที่ปรากฏหลักฐานชัดเจนถึงบทบาทและรูปแบบของท้าวเวสสุวัณ ผลการวิจัยพบว่า ท้าวเวสสุวัณมีบทบาทในสังคมและวัฒนธรรมไทย ตั้งแต่ก่อนสมัยราชอาณาจักรไทยจนถึงปัจจุบัน ทั้งในระดับราชสำนักและประชาชนทั่วไปโดยมีบทบาทใน 3 ฐานะคือในฐานะโลกบาลเป็นผู้คุ้มครองป้องกันภยันตรายทั้งปวงในฐานะเทพแห่งความมั่งคั่ง เป็นผู้ประทานทรัพย์สมบัติและโชคลาภ และในฐานะผู้พิทักษ์พระพุทธศาสนาและพุทธสถานเป็นผู้คุ้มครองป้องกันมิให้สิ่งชั่วร้ายรุกล้ำเข้าในเขตพุทธสถาน หรือทําอันตรายพุทธศาสนิกชน บทบาทของท้าวเวสสุวัณทั้ง 3 ฐานะนี้ยังคงอยู่ในสังคมและวัฒนธรรมไทยโดยมีการปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องเหมาะสมกับวิถีชีวิตในสังคมปัจจุบันดังเห็นได้จากบทบาทในฐานะผู้พิทักษ์พระพุทธศาสนาและพุทธสถาน นิยมสร้างเป็นรูปเคารพขนาดใหญ่ในท่ายืนประดิษฐานอยู่ในตําแหน่งสองข้างของทางเข้าพุทธสถาน ซึ่งพบว่ามีรูปลักษณ์ทั้งที่ถูกต้องตามแบบแผนและเบี่ยงเบนไปบางตามความคิดของผู้สร้าง สําหรับบทบาทในฐานะโลกบาลและเทพแห่งความมั่งคั่ง นิยมการสร้างวัตถุมงคลที่เป็นรูปท้าวเวสสุวัณในรูปแบบและขนาดที่สะดวกในการพกพาติดตัว รูปแบบของวัตถุมงคลที่พบส่วนมากได้แก่ รูปเคารพขนาดเล็กแบบหล่อลอยตัวในท่ายืนหรือท่านั่ง เหรียญรูปท้าวเวสสุวัณ และผ้ายันต์รูปท้าวเวสสุวัณในส่วนของการบูชาพบว่ามีแนวปฏิบัติที่เป็นไปตามความเชื่อของผู้เคารพนับถือท้าวเวสสุวัณเพื่อให้เกิดการคงอยู่ของบทบาทของท้าวเวสสุวัณซึ่งมีความสําคัญและมีประโยชน์ต่อสังคมและวัฒนธรรมไทย หากมีการสร้างรูปเคารพท้าวเวสสุวัณควรคํานึงถึงความเหมาะสมในด้านบทบาท และรูปแบบที่ถูกต้องตามแบบแผน
dc.language.iso th
dc.publisher คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject วัฒนธรรม -- การศึกษา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาไทยศึกษา
dc.subject วัฒนธรรมไทย
dc.title ท้าวเวสสุวัณในสังคมและวัฒนธรรมไทย
dc.title.alternative The tho vessuvn in thi socio-cuturl life
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This research aims to study the background and role of the Thao Vessuvan in order to analyze the roles and forms of the Thao Vessuvan in Thai socio-cultural life from past till present and synthesize current status of the Thao Vessuvan roles appeared in Thai socio-cultural life. The cultural concept of Fine Arts department is used in qualitative research methods by investigation information from documentation and field study conducted in data sources with clear evidence on the Thao Vessuvan roles and forms. Study results suggest that the Thao Vessuvan has played important roles in Thai socioculture life since early days of Kingdom of Thailand to date, whether at royal level and general public. There are 3 roles of the Thao Vessuvan including keeper of the world, protecting against all dangers, a god of prosperity, providing wealth and fortune and guardian of Buddhism and Buddhist monastery, preventing evil intrusion into Buddhist monastery or harm to Buddhists. All three roles of the Thao Vessuvan are rooted in Thai socio-culture life with adaptation to current lifestyle in society. As seen from his role as guardian of Buddhism and Buddhist monastery, big statues in standing position enshrined in both sides of Buddhist temple entrance are generally built in formal and deviant appearance, according to creators. The Thao Vessuvan roles, keeper of the world and god of prosperity, are mostly crafted as sacred objects in convenient-to-carry forms and sizes. Most forms of sacred objects that were discovered include small casted sculpture floating in standing or sitting posture, Thao Vessuvan medallion and Thao Vessuvan talisman. In respect of worship, practices found to be in accordance with people’s beliefs in the Thao Vessuvan. An image of Thao Vessuvanstatue should consider suitability of role and conventional form in order to achieve persistence of the Thao Vessuvan role, which is important and benefit Thai socio-culture life
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline ไทยศึกษา
dc.degree.name ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account