dc.contributor.advisor | ทวีศักดิ์ ปิ่นทอง | |
dc.contributor.advisor | ปรีดี พิศภูมวิถี | |
dc.contributor.author | วรี เรืองสุข | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:08:51Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:08:51Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6568 | |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประงค์เพื่อศึกษาแนวคิดความเป็นสากลในกวีนิพนธ์ไทยที่ได้รับรางวัลซีไรต์ พ.ศ. ๒๕๒๓-๒๕๕๖ จำนวน ๑๒ เรื่อง ได้แก่ เพียงความเคลื่อนไหวของเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ นาฏกรรมบนลานกว้างของคมทวน คันธนูปณิธานกวีของอังคาร กัลยาณพงศ์ใบไม้ที่หายไป ของจิระนันท์ พิตรปรีชา มือนั้นสีขาวของศักดิ์สิริมีสมสืบ ม้าก้านกล้วยของไพวรินทร์ ขาวงาม ในเวลาของแรคํา ประโดยคํา บ้านเก่าของโชคชัย บัณฑิต แม่น้ำรําลึก ของเรวัตร พันธุ์-พิพัฒน์ โลกในดวงตาข้าพเจ้าของมนตรี ศรียงค์ ไม่มีหญิงสาว ในบทกวีของซะการีย์ยา อมตยา และหัวใจห้องที่ห้า ของอังคาร จันทาทิพย์ ผลการวิจัยพบว่า กวีนิพนธ์ไทยที่ได้รับรางวัลซีไรต์มีแนวคิดความเป็นสากล แบ่งได้ ๑๐ ประเภท ได้แก่ โศกนาฏกรรมทางการเมือง สงคราม และความทรงจําร่วมทางสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสังคม การเปลี่ยนแปลงของสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ความรัก ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ สันติภาพ การต่อสู้กับความอธรรมความไม่เท่าเทียมกันในสังคม และสิทธิสตรี การศึกษาวิเคราะห์แนวคิดความเป็นสากลในกวีนิพนธ์ไทยที่ได้รับรางวัลซีไรต์ พบว่า กวีนิพนธ์ไทยที่ได้รับรางวัลซีไรต์ จํานวน ๑๒ เรื่อง มีบทกวีนิพนธ์ จํานวน ๔๔๒ บท มีแนวคิดความเป็นสากล จํานวน ๒๙๖ บท และมีแนวคิดเฉพาะปัจเจกบุคคล จำนวน ๑๔๖ บท แนวคิดความเป็นสากลในกวีนิพนธ์ไทยที่ได้รับรางวัลซีไรต์เป็แนวคิดที่มีความสัมพันธ์กับสังคมโลกเพราะเนื้อหาและแนวคิดในบทกวีที่สื่อความหมายนั้นล้วนมีปรากฏการณ์ทางสังคมเป็นส่วนที่เชื่อมโยงถึงกัน ไม่ว่าจะชนชาติใด เชื้อชาติใด จึงรับรู้สึกได้เช่นเดียวกัน | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | รางวัลซีไรต์ | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาไทยศึกษา | |
dc.subject | กวีนิพนธ์ไทย | |
dc.subject | กวีนิพนธ์ไทย -- รางวัล | |
dc.title | ความเป็นสากลในกวีนิพนธ์ไทยที่ได้รับรางวัลซีไรต์ พ.ศ. 2523 - พ.ศ.2556 | |
dc.title.alternative | The universlity of thi poetry from the s.e. write wrd (1980-2013) | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research aims to study the concept of universality in Thai S.E.A. Write Award – Winning poetry in the period of 1980-2013, total 12 poetic works of Phiangkwamkhlueanwai by Nawarat Pongpaiboon, Nattakambonlankwang by Khomthuan Khanthanu, Panithankawi by Angkarn Kalayanapongsa, Baimaithihaipai by Chiranan Pitpreecha, Muenansikhao by Saksiri Meesomsueb, Makankluai by Phaiwarin Khao-ngam, Naiwela by Raekham Pradoikham, Bankao by Chokchai Bundit, Maenamramluek by Rewat Panpipat, Loknaiduangtakhongkhaphachao by Montri Siyong, Maimiyingsaonaibotkawi by Zakariya Amataya, and Huajaihongthiha by Angkan Chanthathip. The results of this research revealed that in Thai S.E.A. Write Award-Winning poetry, there are 10 types of universalities including political tragedy, war, and collective memory, relationship between man and society, social change, relationship between man and man, love, relationship between man and nature, peace, unfairness, social inequality, and women’s rights. Found in the 12 Thai S.E.A. Write Award - Winning poetic works, there is a total of 442 poems, of which 296 poems have the concept of universality, and 146 poems consisting of the concept of uniqueness. In addition, the concepts of universality in Thai S.E.A. Write Award - Winning poetic works are also related to world society as the contents and the concepts in the poems are associated with social phenomena throughout the world, which can be perceived and understood by any human race. | |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | |
dc.degree.discipline | ไทยศึกษา | |
dc.degree.name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา |