dc.contributor.author |
ปราณี วงศ์จันทร์ต๊ะ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T08:52:00Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T08:52:00Z |
|
dc.date.issued |
2547 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/594 |
|
dc.description.abstract |
จุดมุ่งหมายของงานวิจัยนี้ เพื่อตรวจสอบค่าความส่องสว่างของแสงธรรมชาติที่ตกกระทบบนพื้นระนาบใช้งานภายในอาคารของอาคารสูงในเขตภาคตะวันออก โดยนำค่าความส่องสว่างเฉลี่ยของแสงธรรมชาติที่ได้จากการวัด มาเปรียบเทียบกับค่าความส่องสว่างมาตรฐาน (CIE No 29.2, 1986) การดำเนินการแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ขั้นตอนแรกเป็น การศึกษา สำรวจ พร้อมทั้งกำหนเช่วงเวลาและจุดที่ทำการวัด ขั้นตอนที่สอง เป็นการวัดค่าความส่องสว่างของแสงธรรมชาติ
โดยใช้ลักซ์มิเตอร์ การวัดแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ รูปแบบที่ 1 เป็นการวัดแสงธรรมชาติแบบ 1 ทิศต่อ 1 จุด การดำเนินการเริ่มจากแบ่งจุดของการวัดของแต่ละชั้นเป็น 8 ทิศ โดยมีระยะห่างจากจุดวัดถึงผนังของอาคาร 1 เมตร การวัดรูปแบบที่สองเป็นเป็นการวัดแสงธรรมชาติแบบ 1 ทิศ ต่อหลายจุด การดำเนินการเริ่มจากเลือกห้องที่อยู่มุมของอาคาร ต่อจากนั้นแบ่งจุดของการวัดของแต่ละห้องเป็น 8 ทิศ แต่ละทิศที่วัดแบ่งออกเป็นหลายจุด โดยมีระยะห่างของแต่ละจุดที่อยู่ระหว่างผนังของอาคารและกึ่งกลางห้องเท่ากับ 1 เมตร ขั้นตอนสุดท้ายเป็นการวิเคราะห์โดยทำการเปรียบเทียบระหว่างค่าความส่องสว่างเฉลี่ยของแสงธรรมา
และค่ามาตรฐาน สรุปผลได้ว่า ในวันที่ท้องฟ้าแจ่มใส ค่าความส่องสว่างเฉลี่ยของแสงธรรมชาติที่วัดได้จากทุกจุดของการวัดรูปแบบที่หนึ่ง มีค่าสูงกว่าค่ามาตรฐาน ส่วนรูปแบบที่สอง ค่าความส่องสว่างเฉลี่ยของแสงธรรมชาติที่วัดได้ของห้องที่มีพื้นที่ 54 ตารางเมตร มีค่าสูงกว่าค่ามาตรฐาน ส่วนห้องที่มีพื้นที่มากกว่า 54 ตารางเมตร มีเพียงบางจุดเท่านั้นที่มีค่าที่ได้จากการวัดสูงกว่าค่ามาตรฐาน |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ งบประมาณแผ่นดิน พ.ศ. 2547 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย |
th_TH |
dc.subject |
อาคารสูง - - แสงสว่าง |
th_TH |
dc.subject |
แสงธรรมชาติ |
th_TH |
dc.subject |
แสงในสถาปัตยกรรม |
th_TH |
dc.title |
การวัดค่าความส่องสว่างของแสงธรรมชาติในอาคารสูงของภาคตะวันออก |
th_TH |
dc.title.alternative |
The measurement of daylight illuminance in high building of Eastern region |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.year |
2547 |
|
dc.description.abstractalternative |
The objective of this research is to investigate the values of daylight illuminance incidenting on indoor working planes in a high building og Eastern Region by comparing the average values of daylight illuminance from measurement and the values of illuminance from the standard level (CIE No.29.2, 1984). There are three steps of the processes. The first step is to study survey, define the period of time and measuring points. The second step is to measure the value of daylight illuminance by Luxmeter. This measurement is categorized into two forms. The first form is to measure daylight on one direction per one measuring point. The beginning of this process is to divide the measuring points of each floor into eight directions. The distance between these measuring point and the wall of building is 1 meter. The second form is to measure daylight on one direction per several measuring points. The beginning of this process is to choose rooms that locate at the conner of the building. The measurement of each room divided into eight directions, each direction has several measuring points. The distance of each measuring point between the wall of the building and the center of the room is 1 meter. The final step is to analyze by comparing between the average values of daylight illuminance and the standard levels. In conclusions during celaring sky day, the average values of daylight illuminance at every measuring points in the first form of mrasurement are higher than the standard level. The average value of daylight illuminance of 54-squaremeter space area of the second form of the measurement is higher than the standard level. Meanwhile the other rooms, which the area is larger than 54 squaremeters have the measuring values in some points higher than the standard level. |
en |