DSpace Repository

การประเมินประสิทธิภาพการเรียนการสอนของอาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ตามกรอบการประกันคุณภาพของทบวงมหาวิทยาลัย

Show simple item record

dc.contributor.author จันทร์ชลี มาพุทธ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:45:45Z
dc.date.available 2019-03-25T08:45:45Z
dc.date.issued 2545
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/58
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิภาพการเรียนการสอนของอาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา และเสนอแนวทางการพัฒนาเกี่ยวกับประสิทธิภาพการเรียนการสอนตามกรอบการประกันคุณภาพของทบวงมหาวิทยาลัย งานวิจัยนี้ใช้วิธีการศึกษาเอกสาร ศึกษาโดย การใช้เทคนิคสนทนากลุ่มย่อย (Focus Group) นิสิตระดับบัณฑิตศึกษา 6 ภาควิชา ๆ ละ 3 คน และสัมภาษณ์เชิงลึก (Indept Interview) อาจารย์ จำนวน 10 คน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประสิทธิภาพการเรียนการสอนของอาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา ตามความคิดเห็นของนิสิต ที่ควรปรับปรุงมากที่สุด ได้แก่ วัตถุประสงค์และเนื้อหาวิชา รองลงมาได้แก่ การจัดการเรียนการสอนทั่วไปและความสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์และนิสิต ตามลำดับ 2. ประสิทธิภาพการเรียนการสอนของอาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา ตามความคิดเห็นของอาจารย์ที่ควรปรับปรุงมากที่สุด ได้แก่ วัตถุประสงค์และเนื้อหาวิชา รองลงมาได้แก่ บุคลิกภาพและความรับผิดชอบและความสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์และนิสิต ตามลำดับ 3. แนวทางการพัฒนาเกี่ยวกับประสิทธิภาพการเรียนการสอนตามกรอบการประกันคุณภาพของทบวงมหาวิทยาลัย ได้แก่ 3.1.1 ควรมีการประเมิน พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร 3.1.2 ควรจัดหลักสูตรให้สอดคล้องกับผู้เรียน 3.1.3 ควรจัดหลักสูตรให้ผู้เรียนได้นำไปประยุกต์ใช้และมีความยืดหยุ่น 3.2 อาจารย์ 3.2.1 สัดส่วนอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ที่เหมาะสม 3.2.2 มีพัฒนาการความรู้ใหม่ ๆ ให้อาจารย์อย่างต่อเนื่อง3.2.3 มีการกำหนดเวลานัดหมายปรึกษาวิทยานิพนธ์อย่างชัดเจน 3.2.4 ควรมีการจ้างอาจารย์ทั้งภายในและภายนอกประเทศ3.2.5 สนับสนุนให้ทุนเสนอผลงานวิจัยในต่างประเทศ 3.3 กระบวนการเรียนการสอน 3.3.1 มีแผนการสอนในรายวิชาที่สอน 3.3.2 มีการประเมินประสิทธิภาพการสอน 3.3.3 มีการปรับปรุงการสอนตามผลการประเมิน 3.3.4 มีการวิจัยเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้ 3.3.5 มีการเผยแพร่ผลงานวิจัยของอาจารย์และนิสิตไปใช้ในโรงเรียนและชุมชน 3.3.6 มีการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย 3.4 นิสิต 3.4.1 ควรมีการเผยแพร่ตีพิมพ์บทความวิจัยของนิสิต 3.4.2 ควรจัดกิจกรรมส่งเสริมทางวิชาการให้นิสิต 3.4.3 ควรวิจัยติดตามนิสิตที่จบไปแล้วเพื่อนำมาปรับปรุงหลักสูตรต่อไป 3.5 การวัดและการประเมินผล 3.5.1 ควรมีการปรับปรุงเครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของรายวิชา 3.5.2 การวัดควรคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างผู้เรียน 3.5.3 ควรมีการประเมินผลตามสภาพจริง 3.6 ปัจจัยเกื้อหนุน 3.6.1 ควรจัดสถานที่ที่สืบค้นข้อมูลสำหรับอาจารย์และนิสิตอย่างเพียงพอ 3.6.2 อุปกรณ์สื่อการสอนควรมีความทันสมัย 3.6.3 จัดเอกสารการค้นคว้าให้เพียงพอ 3.6.4 ควรมีฐานข้อมูลงานวิจัยของนิสิตและฐานข้อมูลประวัติและผลงานของอาจารย์แสดงบนระบบเครือข่ายให้นิสิตได้ศึกษาเรียนรู้ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การสอน - - การประเมิน th_TH
dc.subject ประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา th_TH
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ - - การศึกษาและการสอน (บัณฑิตศึกษา) th_TH
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ - - อาจารย์ th_TH
dc.subject อาจารย์มหาวิทยาลัย th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา
dc.title การประเมินประสิทธิภาพการเรียนการสอนของอาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ตามกรอบการประกันคุณภาพของทบวงมหาวิทยาลัย th_TH
dc.title.alternative Evaluation teaching efficiency of instructors in the Graduate School of Education, Burapha University as quality assurance conceptual framework, Ministry of University Affairs en
dc.type Research
dc.year 2545
dc.description.abstractalternative The objectives of this study were to evaluate teaching efficiency of instructors at the Graduate School Faculty of Education, Burapha University according to quality assurance conceptaul framework of the Ministry of University Affiars, and to propose the guidelines for the efficiency development of instructors.For the data collection of the research it was used on focus-group discussion of 18 students from 6 departments, as well as indept -interview of 10 instructors from 6 departments.Research findings were as follows:1. Regarding the teaching afficiency of the instructors at the Graduate School of Faculty of Education, Burapha University according to the students' opinion, that should be improve from more to less they were course objectives and contents, general learning-teaching management and teaching-students' relationship, respectively.2. Regarding the teaching afficiency of the instructors at the Graduate School of Faculty of Education, Burapha University according to the students' opinion, that should be improved from more to less they were course objective that contents, personality and responsibility and teaching-students' relationship, respectively.3. The guidelines for the development of efficiency of instructors according to quality assurance conceptual framework of the Ministry of University Affiars were as follows:3.1 Cirriculum3.1.1 There should be development evaluations and improvement of the cirriculum3.1.2 The cirriculum should be corresponded to students' needs.3.1.3 The cirriculum should be flexible and applicable.3.2 Instructors3.2.1 There should be appropriate proporttions for advisor thesis.3.2.2 There should be consecutive of development knowledge for instructors.3.2.3 There should be clear schedule planes on new knowledge for thesis consultation appointment3.2.4 There should be domestic and international instructors'employment.3.2.5 There should be support for the instructors' research findings presenttation abroad.3.3 Teaching process3.3.1 There should be taught course lesson plan3.3.2 There should be teaching-learning profit effieciency evaluation.3.3.3 There should be teaching-learning improvement based on evaluation result.3.3.4 There should beresearches for learning-teaching process development.3.3.5 There should be dissemination of instructors' and graduate students' research findings so that the can be applied for school and community.3.3.6 There should be varieties of activities organization.3.4 Students3.4.1 There should be dissemmination of graduate students'published Articled on their research findinds.3.4.2 There should be activities to support students' graduate acadwmic affiars.3.4.3 There should be followed up researches for those who already graduated in order to improve the curriculum in the future.3.5 Assessment and evaluation.3.5.1 There should be improvement on instrument, measurment and eveluation methods so that they would corresspond with the subject objectives.3.5.2 The evaluation stressed individual difference.3.5.3 There should be authentic asessment.3.6 Facilities3.6.1 There should be adequate places for data search of instructors and graduate students'.3.6.2 Teaching-media should be suitable.3.6.3 There should be adequate reference meterials.3.6.4 There should be data base on the graduate students' reserch and aytobiography as well as the instructors academic materials displayed on network system so that they can be used as educational references en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account