dc.contributor.author | นฤมล ลี้ปิยะชาติ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:51:58Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:51:58Z | |
dc.date.issued | 2550 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/577 | |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่อง ภาพลักษณ์ของญี่ปุ่นจากสำนวนที่เกี่ยวกับสัตว์ มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะรวบรวมสำนวนภาษาญี่ปุ่นที่มีการใช้สัตว์ในการสื่อความหมาย เพื่อรวบรวมประเภทและชนิดของสัตว์ ศึกษาความหมายที่ถูกต้องของสำนวนภาษาญี่ปุ่นเหล่านั้นและศึกษาความหมายแฝงของสำนวนภาษาญี่ปุ่นที่เกี่ยวกับสัตว์ เพื่อเข้าถึงภาพลักษณ์ที่สะท้อนออกมาจากสำนวนทั้งหมดในด้านสิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม การดำเนินชีวิตและแนวคิดของคนญี่ปุ่น ผลการวิจัยพบว่าสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเป็นสัตว์ประเภทที่ปรากฎอยู่ในสำนวนมากที่สุด รองลงมาคือสัตว์ปีก สัตว์น้ำและสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ แมลง และสัตว์เลื้อยคลาน สำหรับประเภทของสัตว์ที่มีจำนวนชนิดของสัตว์มากที่สุดคือสัตว์ปีก ประเภทที่ปรากฎอยู่ในสำนวนมากที่สุด รองลงมาคือ สัตวืน้ำ และสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ แมลง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและสัตว์เลี้อยคลาน สำนวนต่าง ๆ มีที่มาจากการสังเกตธรรมชาติที่อยู่รอบตัว จากลักษณะรูปร่าง ขนาด นิสัย ของสัตว์ต่าง ๆ ที่เห็นอยู่โดยทั่วไป นอกจากนั้นยังมีการนำอวัยวะส่วนต่าง ๆ ของสัตว์ และที่อยู่อาศัยของสัตว์มาใช้ในสำนวณด้วย ภาพลักษณ์ที่สะท้อนออกมาจากสำนวนจะเป็นภาพทางภูมิประเทศ ภูมิอากาศ พืช และสัตว์ที่มีอยู่ในประเทศญี่ปุ่น มีทั้งที่เป็นสัตว์เลี้ยง สัตว์ที่มีอยู่ตามธรรมชาติ และสัตสัตว์ที่มาจากตำนาน นิทานพื้นบ้าน นอกจากนั้นยังมีภาพสะท้อนทางสังคม วิถีการดำเนินชีวิต ภาพสะท้อนทางด้านคติความเชื่อ ค่านิยม แนวคิดทางด้านพุทธศาสนา นิทานและประวัติศาสตร์ สำนวนต่าง ๆ สะท้อนให้เห็นความเชื่อมโยงของวัฒนธรรมทางภาษาและแนวคิดของคนในสังคมญี่ปุ่นได้อย่างชัดเจน | |
dc.description.sponsorship | งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากงบประมาณเงินรายได้คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ พ.ศ. 2549 มหาวิทยาลัยบูรพา | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ภาษาญี่ปุ่น - - การใช้ภาษา | th_TH |
dc.subject | ภาษาญี่ปุ่น - - คำศัพท์ | th_TH |
dc.subject | ภาษาญี่ปุ่น - - สำนวนโวหาร | th_TH |
dc.subject | สาขาปรัชญา | th_TH |
dc.title | ภาพลักษณ์ของญี่ปุ่นจากสำนวนที่เกี่ยวกับสัตว์ | th_TH |
dc.title.alternative | Images of the japanese from idioms relating to non-human creatures | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2550 | |
dc.description.abstractalternative | This research was firstly aimed to collect Japanese idioms involving non-human creatures; secondly, to categorize and examine the correct meanings and implied meanings of those idioms for being able to perceive Japanese's images of their surroundings. cultures, lifestyle, and concepts reflecting on those idioms. The result was that the most found non-human creatures were mammals, followed by poultry, aquatic creatures, amphibian, insects and reptiles respectively. The variety of poultry appeared the most followed by aquatic and amphibian, with the same frequency, insects, mammals and reptiles respectively. Those idioms creatively originated from the Japanese's observation on natural surrounding and on those creatures' appearance, size, habit; moreover, their organs and their habitats also appeared in some of those idioms. Various types of Japanese images were also expressed in those idioms for instance, geographic landscape, climate, plants and animals in Japan. Those animals were consisted of domestic and wild animals and, also imaginary animals in Japanese's legends and tales. In addition, social characteristics, lifestyles, beliefs, values, Buddhism's thoughts, tales and history also appeared in those idioms. It was obvious that there were connections between language culture and the Japanese ways of thought reflecting on Japanese idioms. |