DSpace Repository

เคลือบเซรามิกส์จากเปลือกหอยนางรม

Show simple item record

dc.contributor.author ภรดี พันธุภากร
dc.contributor.author เสกสรรค์ ตันยาภิรมย์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:51:57Z
dc.date.available 2019-03-25T08:51:57Z
dc.date.issued 2542
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/564
dc.description.abstract การวิจัยเคลือบเซรามิกส์จากเปลือกหอยนางรมนี้ เป้นการวิจัยเชิงทดลอง เพื่อนำเปลือกหอยนางรมที่เป้นวัสดุเหลือทิ้งและกองอยู่มากมายในเขตพื้นที่ตำบลแสนสุข และตำบลอ่างศิลา อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี มาทำเคลือบเซรามิกส์ โดยการทดลองแบ่งออกเป้น 2 ส่วนคือ 1. การหาส่วนที่เหมาะสมของเปลือกหอยนางรมร่วมกับวัตถุดิบอื่น เพื่อให้ได้สูตรเคลือบพื้นฐานในการเผาที่อุณหภูมิ 1,200-1,300 องศาเซลเซียส ซึ่งการทดลองได้ดำเนินการ 3 ขั้นตอน โดยปรากฎผลการทดลองดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การทดลองผสมเคลือบด้วยวัตถุดิบ 2 ชนิด และ 4 ชนิด ดดยอัตราส่วนที่เหมาะสมของเปลือกหอยนางรมที่ถือเป้นวัตถุดิบหลักนั้น คือ 10-40 % แต่เคลือบมีความทนไฟสูงสุกตัวไม่ดีนัก ขั้นตอนที่ 2 ทดลองเคลือบด้วยด้วยเปลือกหอยนางรม 20-40% ร่วมกับวัตถุดิบอื่นที่ทำหน้าที่เป้นตัวหลอมละลายและทำให้เกิดความใสมันแวววาวในเคลือบ ซึ่งการสึกษาทดลองได้ทำการเผาที่อุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส 1,250 องศาเซลเซียส โดยกำหนดวัตถุดิบที่นำมาผสมและได้อัตราส่วนที่เหมาะสมดังนี้ -เปลือกหอยนางรม 40% -ดิน 5% -Soda Feldspar 16-44% -Zinc Oxide 6-11% -Quartz 11-39% ขั้นตอนที่ 3 ทดลองให้ได้สูตรเคลือบเปลือกหอยนางรมที่มีอัตราส่วนที่แน่นอน เพื่อนำไปเป้นสูตรเคลือบพื้นฐาน ซึ่งสูตรเคลือบเปลือกหอยนางรมนี้ มีการสุกตัวที่ดี ที่อุณหภูมิ 1,230-1,250 องศาเซลเซียส เคลือบมีผิวเรียบมัน โปร่งแสง ถึงกึ่งทึบแสงและปรากำรอยรานในบางสูตร โดยได้เลือกสูตรเคลือบพื้นฐานที่เหมาะสม จำนวน 6 สูตร คือ สูตร 1 เปลือกหอย 40, ดิน 5, Zinc O. 6 , Soda Feld. 19, Quartz. 30 สูตร 2 เปลือกหอย 40, ดิน 5, Zinc O. 6 , Soda Feld. 21, Quartz. 28 สูตร 3 เปลือกหอย 40, ดิน 5, Zinc O. 6 , Soda Feld. 29, Quartz. 20 สูตร 4 เปลือกหอย 40, ดิน 5, Zinc O. 6 , Soda Feld. 31, Quartz. 18 สูตร 5 เปลือกหอย 40, ดิน 5, Zinc O. 6 ,Soda Feld. 35, Quartz. 14 สูตร 6 เปลือกหอย 40, ดิน 5, Zinc O. 6 , Soda Feld. 37, Quartz. 12 2. การทดลองผสมสารให้สีและทึบในเคลือบ โดยนำเคลือบเปลือกหอยนางรมสูตรพื้นฐานมาผสมสารให้สีและสารทำทึบในเคลือบ ทำให้ได้สูตรเคลือบสีต่าง ๆ ซึ่งสารที่นำมาทดลองผสมคือ Ferric Oxide ให้สีน้ำตาล ทดลองในปริมาณ 1-7% Copper Oxide ให้สีเขียว ทดลองในปริมาณ 1-7% Manganese Dioxide ให้สีน้ำตาลอมเทา ทดลองในปริมาณ 1-7% Titanium ให้ทึบ ทดลองในปริมาณ 1-9% เคลือบสีและเคลือบสีทึบที่ได้มีความสวยงามและมีสีสันที่แตกต่างหลากหลายขึ้นอยู่กับปริมาณของสารให้สีและให้ทึบในเคลือบและความต่างกันของสูตรเคลือบพื้นฐาน ซึ่งในการผสมสารให้สีในปริมาณมากเกิน 5% จะทำให้เคลือบทนไฟสูง และไม่สุกตัวตามอุณหภูมิที่กำหนด ยกเว้น Ferric Oxide ซึ่งเป็นตัวหลอมละลาย ถ้าใส่ในปริมาณที่มากขึ้น th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject เครื่องเคลือบดินเผา - - วิจัย th_TH
dc.subject สาขาปรัชญา th_TH
dc.title เคลือบเซรามิกส์จากเปลือกหอยนางรม th_TH
dc.title.alternative Ceramic Glaze from Oyster shells en
dc.type Research
dc.year 2542
dc.description.abstractalternative A lot of oystershells were thrown away in piles within the areas of Tambon Saen suk and Tambon Ang Sila, Amphoe Muang, Changwat Chonburi. This project deals with an experimental research on how to make use of these oyster shells as glaze for ceramics. The research was carried out in 2 parts. 1. To find an appropriate proportion between the oyster shells and other materials in order to get basic blaze formulas for firing at 1,200c', 1,230c', 1,250c', and 1,300c', respectively. The experiment followed the following 3 steps: Step 1 Try glaze mixtures of 2 and 4 materials. The appropriate proportion of the oyster shells which was the main material turned out to be 10-40%. However, the glaze was rather fireproof and did not give a good finish. Step 2 Try the proportion of 20-40% of oyster shells mixed with other materials in order to enhance the fusibulity as well as transparency and shininess of the glaze. The appropriate proportion of the glaze mixture turned out as below: Oyster Shells 40% Clay 5% Soda Feldspar 16-44% Zinc Oxide 6-11% Step 3. try to find exact proportions to establish oyster shell glaze formulas to be further used as basic glaze formulas. The glaze mixtures obtained from this research had their melting points between 1,230-1,250C' After the firing, the samples were covered with a smooth and shiny glaze, transparent to opaque, with cracks in some formulsa. The following 6 formulas have been selected as basic glaze fromulas: 2. To addcolors and opacity to the glaze by mixing pigmentary and compacting agents into the basic glaze formulas. As a result, new formulas were obtained for color glazes. The clolring and compacting agents being includ: Ferric Oxide 1-7% -Brown Copper Oxide 1-7% -Green Manganese Dioxide 1-7% -Grayish brown Titanium Dioxide 1-9% - Opaque The Color and opaque glazes obtained from this research were beautiful, with various nuances of colors, depending on the quantity of the coloring and compacting agents in the glaze mixture as well as the difference among the basic glaze formulas. If more than 5% of the coloring agents was used, the glaze became fireproof and it would not settle itself at a fixed temperature, except for ferric Oxide, which would help enhance the fusibility itself if used in a greater quantity en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account