dc.contributor.author |
ฝนทิพย์ วรรธนะศิรินทร์ รังสิตสวัสดิ์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ |
th |
dc.date.accessioned |
2022-06-27T09:10:42Z |
|
dc.date.available |
2022-06-27T09:10:42Z |
|
dc.date.issued |
2564 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4495 |
|
dc.description |
โครงการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย งบประมาณเงินรายได้ส่วนงาน คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปี พ.ศ. 2563 |
th_TH |
dc.description.abstract |
อุตสาหกรรมเซรามิกเป็นอุตสาหกรรมพื้นฐานที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจไทยมาตั้งแต่ในอดีต และในทุก
ขั้นตอนของกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เซรามิกก่อให้เกิดปัญหามลภาวะทั้งสิ้น นอกจากนี้ผลิตภัณฑ์เซรามิกที่ผ่านกระบวนการเผาเคลือบแล้วนั้นยากต่อการนำกลับมาใช้ใหม่ได้ เพราะจำเป็นต้องผ่านกระบวนการที่ใช้พลังงานและเสียค่าใช้จ่ายสูง งานวิจัยนี้จึงมุ่งหวังที่จะเป็นส่วนหนึ่งในการลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและสร้างความยั่งยืนผ่านกลไกการพัฒนาวัสดุที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมให้มากที่สุด
งานวิจัยเรื่อง การพัฒนาเศษวัสดุเซรามิกอย่างสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบผลิตภัณฑ์ Upcycling ด้วย
แนวคิดการออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อม มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อม และแนวคิด Upcycling ที่จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุเซรามิก
2) เพื่อศึกษาและทดลองเทคนิคในการแปรรูปเศษวัสดุเซรามิกที่จะนำมาซึ่งข้อค้นพบเกี่ยวกับข้อดี ข้อเสีย ของเทคนิคตาง ๆ ที่สามารถนำไปใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ Upcycling และ 3) เพื่อพัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑ์ จากเศษวัสดุเซรามิกด้วยแนวคิดการออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อมที่จะเป็นทางเลือกใหม่ ชะลอการเกิดขยะ และสามารถเพิ่มมูลคาของเศษวัสดุเซรามิกได้
จากการศึกษาพบว่า การออกแบบผลิตภัณฑ์ด้วยแนวคิดการออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อมทที่ใช้เศษวัสดุเซรามกิเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิต ผ่านกระบวนการที่ทำให้มีคุณภาพและประโยชน์เพิ่มมากขึ้น แนวคิดที่สอดคล้องกับการ upcycle ซึ่งการพัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑ์จะใช้ความคิดสร้างสรรค์ เพื่อสร้างความสวยงาม และคำนึงถึงประโยชน์ใช้สอย โดยใช้แนวคิดสำคัญ 3 ส่วน คือ 1) หลักการ 4R (Reduce, Reuse, Recycle และ Repair) 2) การยืดอายุการใช้งานผลิตภัณฑ์และวัสดุ และ 3) การปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้งาน และในงานวิจัยนี้มีผลการพัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑ์ต้นแบบ จำนวน 5 ชิ้น ในประเภทผลิตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ที่สอดคล้องกับการใช้งานของกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เข้ากับยุคสมัยปัจจุบัน ซึ่งผลิตภัณฑ์ต้นแบบประกอบด้วย ที่ดริปกาแฟ จำนวน 2 รูปแบบถาดรอง จำนวน 1 รูปแบบ และ เก้าอี้ จำนวน 2 รูปแบบ ด้วยการเลือกเทคนิคจากทดลองประสาน 2 วัสดุ โดยการร้อย สาน และเซาะร่องไม้ และการประสานเศษเซรามิกและไม้ด้วยยางรัก เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับการใช้งาน เกิดรูปแบบที่น่าสนใจ เป็นการผสมผสานการใช้ภูมิปัญญาในการสร้างสรรค์ผลงาน เพิ่มคุณค่าให้กับผลิตภัณฑ์ อีกทั้ง เป็นการจำกัดหรือลดการใช้วัสดุให้น้อยที่สุดในงานออกแบบ เนื่องจากการใช้วัสดุหลายประเภททำให้กระบวนการทำลาย คัดแยกขยะ ต้องใช้พลังงานและทรัพยากรเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะเป็นผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมผลจากการพัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑ์ Upcycling จากเศษวัสดุเซรามิกด้วยแนวคิดการออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อมนี้ เป็นทางเลือกใหมให้กับผู้ใช้งานที่ต้องการความแปลกใหม่ รูปแบบที่แตกต่าง เป็นการชะลอการเกิดขยะ และสามารถเพิ่มมูลค่าของเศษเซรามิกเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตได้ ซึ่งตรงตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัยที่กำหนดไว้ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
การออกแบบผลิตภัณฑ์ |
th_TH |
dc.subject |
วัสดุเซรามิก |
th_TH |
dc.subject |
การออกแบบผลิตภัณฑ์ - - แง่สิ่งแวดล้อม |
th_TH |
dc.title |
การพัฒนาเศษวัสดุเซรามิกอย่างสร้างสรรค์ เพื่อการออกแบบผลิตภัณฑ์ Upcycling ด้วยแนวคิดการออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อม |
th_TH |
dc.title.alternative |
The Upcycling Product Design from Waste Ceramic Materials through Environmental Design Concept |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
fonthip.r@gmail.com |
th_TH |
dc.year |
2564 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
The ceramic industry has been important to the Thai economy from the past. And in every
step of the production process of ceramic products causing all pollution problems. In addition,
coated ceramic products are difficult to recycle, it uses energy-intensive and is a highly costly
process. Thus, this research aims to be a part of reducing environmental problems and creating sustainability through the development of environmentally friendly materials as much as possible. The study of The Upcycling Product Design from Waste Ceramic Materials through Environmental Design Concept has the objective following this; 1) To study the concepts of environmental design and the concept of Upcycling that will be useful in the development and design of products from ceramic waste; 2) To study and experiment on the techniques for enhancing the ceramic waste materials that discovering the advantages and disadvantages of various techniques, which applied in upcycling product design; and 3) to develop and design products from ceramic waste with an environmental design concept that will be a new alternative method, reducing a waste ceramics while can value-added them.
The study found that the product design of waste ceramic from the manufacturing process
through an environmental design concept for increases the quality and benefits is consistent with upcycling. It is the development and design with creativity to create the aesthetic product and functional consideration. There is 3 key consisted concepts: 1) the 4R principle (Reduce, Reuse, Recycle and Repair), 2) consideration of the life-long of products and materials, and 3) modifying the usage and functions. Additionally, there are 5 prototypes in the lifestyle category, corresponding to the target group. The prototypes consist of 2 designs of coffee drippers, 1 design of tray, and 2 designs of chairs through techniques from the experimental process which is the combination of 2 materials by weaving, grooving and lacquer gluing. It is a combination of using wisdom to create works, adding value to the product and minimizing the uses of materials.
Finally, the development and design of upcycling products from waste ceramic with an
environmental design concept is a new alternative, showing different styles and reducing waste ceramic while adding -value to answer the objectives of this established research. |
en |
dc.keyword |
สาขาปรัชญา |
th_TH |