dc.contributor.author |
เกรียงศักดิ์ เขียวมั่ง |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-05-22T09:37:36Z |
|
dc.date.available |
2022-05-22T09:37:36Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4365 |
|
dc.description |
งานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากเงินงบประมาณทุนอุดหนุนการผลิตผลงานวิจัยและผลงานสร้างสรรค์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 |
th_TH |
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1. เพื่อใช้ประโยชน์จากเศษเหลือทิ้งจากการเกษตร ประเภทเหง้ามันสำปะหลังในภาคตะวันออก 2. เพื่อศึกษากระบวนการผลิตถ่านกัมมันต์ การใช้ประโยชน์ที่ตรงตามสมบัติของวัสดุและ 3 เพื่อเพิ่มมูลค่าด้วยกระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ์ประเภทดูดซับกลิ่นจำนวน 3 แบบ
โดยมีการดำเนินการวิจัยเป็น 3 ส่วนคือ 1.การศึกษาความเป็นได้ในการนำเศษเหลือทิ้งจากการเกษตรประเภทเหง้ามันสำปะหลังในภาคตะวันออก 2. การศึกษากระบวนการผลิตถ่านกัมมันต์ที่เหมาะสมกับพื้นที่และมีสมบัติตามต้องการ และ 3. การทดลองพัฒนาอัตราส่วนและต้นแบบผลิตภัณฑ์
ผลการวิจัยพบว่า 1. เศษเหลือทิ้งจากการเกษตร ประเภทเหง้ามันสำปะหลัง มีความเป็นไปได้ที่จะสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์มูลค่าเพิ่ม 2. กระบวนการผลิตถ่านกัมมันต์แบ่งออกเป็นขั้นตอน คือ การเตรียมถ่าน และการกระตุ้นเพื่อให้เกิดรูพรุนขนาดไมโคร วิธีกระตุ้นที่ดีที่สุดคือการกระตุ้นด้วยสารเคมี จะทำให้เนื้อถ่านกัมมันต์มีรูพรุนจำนวนมากและมีสมบัติในการดูดซับกลิ่นอย่างมีประสิทธิภาพ และ 3. ผลิตภัณฑ์ดูดซับกลิ่นในรถยนต์ใช้อัตราส่วนผสมถ่านกัมมันต์ผง ร้อยละ 60 ใช้ปูนปลาสเตอร์เป็นตัวประสานในอัตราส่วนร้อยละ 40 ขึ้นรูปต้นแบบเป็นรูปทรงธรรมชาติ กระบองเพชร ขนาด 50x50x80 มิลลิเมตร ผลิตภัณฑ์ดูดซับกลิ่นในห้องครัวใช้อัตราส่วนผสมถ่านกัมมันต์ผง ร้อยละ 70 ใช้ปูนปลาสเตอร์เป็นตัวประสานในอัตราส่วนร้อยละ 30 ขึ้นรูปต้นแบบเป็นรูปทรงเรขาคณิต 6 เหลี่ยม 150x125x40 มิลลิเมตร และผลิตภัณฑ์สบู่ขจัดกลิ่นใช้อัตราส่วนผสมถ่านกัมมันต์ผง ร้อยละ 20 ใช้เบสสบู่กลีเซอรีนในอัตราส่วนร้อยละ 80 ขึ้นรูปต้นแบบเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาด 50x50x20 มิลลิเมตร |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ถ่านกัมมันต์ |
th_TH |
dc.subject |
การออกแบบผลิตภัณฑ์ |
th_TH |
dc.subject |
มันสำปะหลัง |
th_TH |
dc.title |
ถ่านกัมมันต์จากเหง้ามันสำปะหลัง เพื่อการออกแบบผลิตภัณฑ์ดูดซับกลิ่น |
th_TH |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
kriangsakk@buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2563 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
Objective of this research is 1. To make use of agricultural waste. Types of cassava rhizomes in the eastern region. 2.To study the production process of activated carbon, utilization that meets the material properties and 3 To add value through 3 different odor absorbing product design processes
The research was carried out in 3 parts: 1. A feasibility study of agricultural waste from cassava rhizomes in the eastern region. 2. Study of activated carbon production process that is suitable for the area and with required properties; and 3. Experimental development of ratio and product prototype.
The results of the research were as follows: 1. Agricultural waste Cassava rhizome types There is a possibility that it can be used for added value benefits.
2. The activated carbon production process is two steps, First step charcoal preparation. And second stimulation to create micro pores The best stimulation method is chemical stimulation. Will make the activated carbon content has a lot of pores and has powerful odor absorbing properties and 3. Odor absorbent products in cars using 60% activated carbon powder mixture rate, use plaster as a binder. In the ratio of 40 percent, forming a prototype into a natural shape, cactus size 50x50x80 mm. Odor absorbent products in the kitchen using a mixture of 70% activated carbon powder and use plaster as a binder. In a ratio of 30%, forming a prototype into a hexagonal geometry 150x125x40 mm. And deodorizing soap products using 20% activated carbon powder mixture, 80% glycerine soap base, molded into square shape, size 50x50x20 mm. |
en |
dc.keyword |
สาขาปรัชญา |
th_TH |