dc.contributor.author |
วิชญา กันบัว |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-05-22T08:59:06Z |
|
dc.date.available |
2022-05-22T08:59:06Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4363 |
|
dc.description |
โครงการวิจัย ประเภทเงินรายได้ คณะวิทยาศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 |
th_TH |
dc.description.abstract |
ศึกษาโครงสร้างประชาคมแพลงก์ตอนในอ่างเก็บน้ำบางพระ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2562 ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2563 เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 12 ครั้ง มีสถานีเก็บตัวอย่าง 7 สถานี เก็บตัวอย่างแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ โดยใช้ถุงกรองแพลงก์ตอนขนาดตา 20 และ 200 ไมโครเมตร โดยกรองตัวอย่างน้ำปริมาตร 20 และ 50 ลิตร ตามลำดับ จำนวน 3 ซ้ำ ในแต่ละสถานี แล้วจึงนำมาทำการจำแนกภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ผลการศึกษาพบแพลงก์ตอนพืช 3 ดิวิชั่น 47 สกุล โดยพบดิวิชั่น Cyanophyta (Cyanobacteria) 10 สกุล ดิวิชั่น Chlorophyta (Green algae) 25 สกุล และดิวิชั่น Chromophyta (Diatom and Dinoflagellates) 12 สกุล โดยพบดิวิชั่น Cyanophyta และดิวิชั่น Chromophyta เป็นดิวิชั่นเด่นตลอดช่วงที่ทำการศึกษา มีความหนาแน่นรวมอยู่ในช่วง 224,110 866,842 เซลล์ต่อลิตร พบแพลงก์ตอนสัตว์ 2 ไฟลัม 4 กลุ่ม ได้แก่ ไฟลัม Arthropoda กลุ่ม Copepods กลุ่ม Cladocera และ กลุ่ม Ostracods และไฟลัม Rotifera กลุ่ม Rotifers โดยพบกลุ่ม Copepods และกลุ่ม Cladocera เป็นกลุ่มเด่นตลอดช่วงที่ทำการศึกษา มีความหนาแน่นรวมอยู่ในช่วง 7,434 50,180 ตัวต่อลูกบาศก์เมตร ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำบริเวณผิวหน้าน้ำ ณ จุดเก็บตัวอย่าง พบว่าอุณหภูมิอยู่ในช่วง 29.45 33.00 องศาเซลเซียส ค่าความเป็นกรด ด่างอยู่ในช่วง 7.30 8.41 ค่าออกซิเจนละลายน้ำอยู่ในช่วง 3.73 6.73 มิลลิกรัมต่อลิตร และค่าการนำไฟฟ้าอยู่ในช่วง 448.86 657.50 ไมโครซิเมนต่อเซนติเมตร |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
แพลงก์ตอน |
th_TH |
dc.subject |
อ่างเก็บน้ำบางพระ (ชลบุรี) |
th_TH |
dc.title |
โครงสร้างประชาคมแพลงก์ตอนในอ่างเก็บน้ำบางพระ จ. ชลบุรี |
th_TH |
dc.title.alternative |
Plankton Community Structure in Bangphra reservoir, Chonburi province |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
vichaya@buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2562 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
This study aims to determine the plankton community structure in Bang Phra reservoir, Chonburi province, eastern of Thailand. The study was conducted on October 2019 to September 2020. Survey methods were used in this research. Phytoplankton and zooplankton were taken 12 times, once / months, in 7 different stations with 3 replications each. Water sample was collected into 20 and 50 liters using a smaller mesh size plankton nets (20 micrometer (μm)) and a 200 μm mesh size plankton net, respectively. The plankton was sampled and identified using a binocular microscope. There were 3 divisions and 47 genus of plankton in Bang Phra reservoir: 10, 25 and 12 genus belong to Cyanophyta, Chlorophyta and Chromophyta, respectively. Division of Cyanophyta and Chromophyta were found most dominant through the all sampling periods with a total density range of 224,110 - 866,842 cells/L. However, the zooplankton detected in this study consisted of 4 groups (Copepods, Cladocera, Ostracods and Rotifers) from 2 phyla (Arthropoda and Rotifera). Copepods and Cladocera were the dominant group with a total density range of 7,434 - 50,180 (ind./m³). The plankton community structure in the Bang Phra reservoir is categorized as good. During the study period, however, the plankton community structure highly fluctuated in different months (seasons). Our findings reveal that increased temperature change plankton community structure during the study period. Including, water quality impact on the plankton community structure. |
en |
dc.keyword |
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา |
th_TH |