dc.contributor.author |
การะเกด เทศศรี |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-05-01T03:01:14Z |
|
dc.date.available |
2022-05-01T03:01:14Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4325 |
|
dc.description |
โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 |
th_TH |
dc.description.abstract |
อนุภาคนาโนโลหะเหล็กบนตัวรองรับอนุภาคนาโนมีโซพอรัสซิลิกา (Fe/MCM-41) ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อ
การผลิตเชื้อเพลิงเหลวทดแทนดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำ เพื่อใช้เป็น การสังเคราะห์ Fe/MCM-41 ทำโดยวิธีโซล-เจล (sol-gel) และวิธีการจุ่มเคลือบ (impregnation) วิเคราะห์คุณลักษณะโดยเทคนิคต่าง ๆ ได้แก่ เทคนิคจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องผ่าน (TEM) เทคนิคการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์ (XRD) เทคนิคโฟโตอิเล็กตรอนสเปกโทรสโกปี (XPS) เทคนิคการวิเคราะห์พื้นผิวและปริมาตรรูพรุน (BET) และเทคนิคการโปรแกรมอุณหภูมิเพื่อทดสอบการรีดักชัน (TPR) การศึกษาประสิทธิภาพตัวเร่งปฏิกิริยา Fe/MCM-41 ในการเกิดปฏิกิริยาไฮโดรดีออกซีจิเนชันน้ำมันสบู่ดำ ใช้กรดโอเลอิกเป็นต้นแบบการศึกษา ทดสอบปฏิกิริยาการบำบัดโดยไฮโดรเจน(hydrotreating) โดยกระบวนการแบบกะภายใต้อุณหภูมิ 270 ถึง 300 องศาเซลเซียส ความดัน 30 บาร์ เป็นเวลา 6 ชั่วโมง ในรีแอกเตอร์เทฟลอน พบว่าได้ร้อยละการเปลี่ยน (% conversion)เท่ากับ 100 ร้อยละผลิตผล (% yield) เท่ากับร้อยละ 67 และร้อยละความจำเพาะ (selectivity) เท่ากับ 97 ที่สภาวะที่ใช้ในการเกดปฏิกิริยาที่อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส ความดัน 40 บาร์ เวลาในการเกิดปฏิกิริยา 8 ชั่วโมง โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา 10 wt% Fe/MCM-41 การทดสอบผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปฏิกิริยาไฮโดรดีออกซีจิเนชันของน้ำมันสบู่ดำ พบว่าให้ผลใกล้เคียงกับการทดสอบในกรดโอเลอิก โดยได้ผลิตภัณฑ์เป็นไฮโดรคาร์บอนสายโซ่ตรงที่ทีจำนวนคาร์บอน 18 ตัว (ออกตะเดเคน) และ 16 ตัว (เฮกษะเดเคน) เป็นผลิตภัณฑ์หลัก ในขณะที่เฮปตะเดเคนซึ่งเกิดจากปฏิกิริยาการกำจัดหมู่คาร์บอนิล (decarbonylation) พบเพียงร้อยละ 1-2 ความจำเพาะในการเกิดปฏิกิริยาไฮโดรดีออกซีจิเนชันขึ้นอยู่กับแรงกระทำระหว่างเหล็กอะตอมและออกซิเจนอะตอมซึ่งขึ้นอยู่กับขนาดอนุภาคและการกระจายตัวของอนุภาคนาโนเหล็กในโพรงขนาดมีโซ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
น้ำมันสบู่ดำ |
th_TH |
dc.subject |
พืชให้น้ำมันจากเมล็ด |
th_TH |
dc.title |
การผลิตกรีนดีเซลโดยการเร่งปฏิกิริยาไฮโดรดีออกซีจิเนชันของไตรกลีเซอไรด์จากน้ำมันสบู่ดำ |
th_TH |
dc.title.alternative |
Green diesel production via catalytic hydrodeoxygenation of triglycerides from jatropha oil |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
karaked@buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2561 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
Iron nanoparticles supported on mesoporous silica nanoparticles (Fe0/MCM-41
nanoparticles) was developed to produce liquid fuel from jatropha oil. Fe/MCM-
41nanoparticles was prepared by sol-gel and an impregnation method and characterized by
different techniques; transmission electron microscope (TEM), X-Ray diffraction (XRD), X-Ray
photoelectron spectroscopy (XPS), Brunauer–Emmett–Teller (BET) and temperature program
reduction (TPR). Oleic acid was used as a model for studying the catalytic performance of
Fe0/MCM-41for the hydrodeoxygenation of triglycerides containing in Jatropha oil. The
hydrotreatment was investigated in a batch system under conditions of 270 to 300ºC, 30 bar
and 6 h in a Teflon-lined autoclave. A 100% conversion, yield of 67% and a selectivity of 97%
were obtained at 300°C, 40 bar and 8 h over the 10 wt% Fe/MCM-41catalyst. Similar results
were obtained for the hydrotreatment of jatropha oil. The straight chain of
hydrodeoxygenation products (octadecane; C18 and hexadecane; C16) was the main
components while only 1-2% heptadecane from decarbonylation was detected. High
selectivity of hydrodeoxygenation depends on the strength of Fe and oxygen bond which
depended on the particle size and dispersion of Fe nanoparticles in mesoporous pore. |
en |
dc.keyword |
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา |
th_TH |