dc.contributor.author |
สุรสิงห์ ไชยคุณ |
|
dc.contributor.author |
นิรันดร์ วิทิตอนันต์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-03-07T01:36:30Z |
|
dc.date.available |
2022-03-07T01:36:30Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4304 |
|
dc.description |
โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนจากรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 |
th_TH |
dc.description.abstract |
ฟิล์มบางไทเทเนนียมโครเมียมไนไตรด์ (TiCrN) เคลือบด้วยวิธีดีซีรีแอคทีฟแมกนีตรอนสปัตเตอริงจาก
เป้าสารเคลือบแบบโมเสค เพื่อศึกษาผลของอัตราไหลแก๊สไนโตรเจนและระยะห่างระหว่างวัสดุรองรับกับ
เป้าสารเคลือบต่อโครงสร้างของฟิล์ม โดยลักษณะเฉพาะของฟิล์มที่เคลือบได้ศึกษาด้วยเทคนิค XRD,
AFM, EDS และ FE-SEM ผลการศึกษาพบว่า ฟิล์มที่เคลือบได้เป็นสารละลายของแข็งของ (Ti,Cr)N
โครงสร้างของฟิล์มแปรตามอัตราไหลแก๊สไนโตรเจนและระยะห่างระหว่างวัสดุรองรับกับเป้าสารเคลือบ
(1) สาหรับกรณีแปรค่าอัตราไหลแก๊สไนโตรเจน พบว่าขนาดผลึกมีค่าในช่วง 41.4 – 69.6 nm และค่าคงที่
แลตทิซมีค่าในช่วง 4.169 – 4.179 Å. ความหนาของฟิล์มมีค่าลดลงจาก 336 nm เป็น 283 nm เมื่อเพิ่ม
อัตราไหลแก๊สไนโตรเจน ฟิล์มที่เคลือบได้มีไทเทเนียม โครเมียมและไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบใน
อัตราส่วนต่าง ๆ แปรตามอัตราไหลแก๊สไนโตรเจน โครงสร้างจุลภาคของฟิล์มเป็นแบบคอลัมนาร์และมี
ลักษณะแน่นขึ้นเมื่อเพิ่มอัตราไหลแก๊สไนโตรเจน และ (2) สาหรับกรณีแปรค่าระยะห่างระหว่างวัสดุรองรับ
กับเป้าสารเคลือบ พบว่าขนาดผลึกมีค่าในช่วง 35.7 – 65.7 nm ส่วนค่าคงที่แลตทิซมีค่าในช่วง 4.169 –
4.229 Å. ความหนาของฟิล์มมีค่าลดลงจาก 500 nm เป็น 292 nm เมื่อเพิ่มแปรค่าระยะห่างระหว่างวัสดุ
รองรับกับเป้าสารเคลือบ ฟิล์มที่เคลือบได้มีไทเทเนียม โครเมียมและไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบใน
อัตราส่วนต่าง ๆ แปรตามระยะห่างระหว่างวัสดุรองรับกับเป้าสารเคลือบ โครงสร้างจุลภาคของฟิล์มเป็น
แบบคอลัมนาร์และมีลักษณะแน่นขึ้นเมื่อเพิ่มระยะห่างระหว่างวัสดุรองรับกับเป้าสารเคลือบ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ฟิล์มไทเทเนียมโครเมียมไนไตรด์ |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ |
th_TH |
dc.title |
ผลของอัตราไหลแก๊สไนโตรเจนต่อโครงสร้างของฟิล์มบางไทเทเนียมโครเมียมไนไตรด์ที่เตรียมด้วยวิธีรีแอคทีฟสปัตเตอริงจากเป้าสารเคลือบแบบโมเสค |
th_TH |
dc.title.alternative |
Effect of nitrogen gas flow rate on structure of Titanium Chromiun Nitride thin film prepared by reactive sputtering from Mosaic targets |
th_TH |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
surasing@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
nirun@buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2559 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
Titanium chromium nitride (TiCrN) thin films were deposited by reactive DC magnetron
sputtering method from mosaic target. The effect of the N2 gas flow rate and the
substrate-to-target distance on the films’ structure was investigated. The as-deposited
films were characterized by XRD, AFM, EDS and FE-SEM. The results showed that, all
the as-deposited films were formed as a (Ti,Cr)N solid solution. The structure of the
as-deposited films varied with the N2 gas flow rates and the substrate-to-target distances.
(1) In case of varied the N2 gas flow rate, the crystal size of all plane were in the range of
41.4 – 69.6 nm. The lattice constants were in the range of 4.169 – 4.179 Å. The thickness
decreased from 336 nm to 283nm with increasing the N2 gas flow rate. The chemical
composition, Ti Cr and N contents, in the as-deposited films were varied with the N2 gas
flow rate. The as-deposited films showed compact columnar and dense morphology as a
result of increasing the N2 gas flow rate. (2) In case of varied the substrate-to-target
distances, the crystal size of all plane were in the range of 35.7 – 65.7 nm. The lattice
constants were in the range of 4.169 – 4.229 Å. The thickness decreased from 500 nm
to 292nm with increasing the substrate-to-target distances The chemical composition, Ti
Cr and N contents, in the as-deposited films were varied with the substrate-to-target
distances. The as-deposited films showed compact columnar and dense morphology as a
result of increasing the substrate-to-target distances. |
th_TH |