dc.contributor.author |
สาลินี ขจรพิสิฐศักดิ์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2021-09-27T06:42:57Z |
|
dc.date.available |
2021-09-27T06:42:57Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4285 |
|
dc.description.abstract |
ความหลากชนิดและความชุกชุมของมดที่หากินตามพื้นดินในสวนปาล์มน้ำมัน: กรณีศึกษา จังหวัดชลบุรี ภาคตะวันออกของประเทศไทย ได้ทำการศึกษาในเขตพื้นที่สวนปาล์มน้ำมันสูงและสวน ปาล์มน้ำมันเตี้ย ระหว่างเดือนมกราคม ถึง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ด้วยวิธีเก็บตัวอย่าง 3 วิธี ได้แก่ การใช้กับดักหลุม กับดักเหยื่อทูน่า และกับดักเหยื่อน้ำหวาน ผลการศึกษาพบมดทั้งหมดจำนวน 124,440 ตัว แบ่งเป็น สวนปาล์มน้ำมันเตี้ย 79,668 ตัว และสวนปาล์มน้ำมันสูง 44,772 ตัว โดย สามารถจัดจำแนกในระดับชนิดออกเป็น 39 ชนิด ใน 26 สกุล และ 5 วงศ์ย่อย ได้แก่ Dolichoderinae, Dorylinae, Formicinae, Myrmicinae และ Ponerinae สวนปาล์มน้ำมันเตี้ยพบ มดจำนวน 32 ชนิด 22 สกุล 5 วงศ์ย่อย และสวนปาล์มน้ำมันสูงพบพบมด จำนวน 30 ชนิด 25 สกุล 5 วงศ์ย่อย เมื่อพิจารณาตามวิธีการเก็บตัวอย่าง พบว่า วิธีการวางกับดักหลุมเป็นวิธีที่ได้จำนวนวงศ์ ย่อย สกุล และชนิดได้สูงสุดเมื่อเทียบกับวิธีอื่น โดยสามารถรวบรวมมดได้ทั้งหมด 5 วงศ์ย่อย 25 สกุล 38 ชนิด คิดเป็นร้อยละ 97.44 ของจำนวนชนิดมดทั้งหมด จากการศึกษาดัชนีโครงสร้างทางชีวภาพ ของสังคมมดพบว่า ค่าเฉลี่ยของดัชนีความหลากหลายของ Shannon (H’) และดัชนีความสม่ำเสมอ (E’) ของมดในพื้นที่สวนปาล์มน้ำมันสูงมีค่าสูงกว่าสวนปาล์มน้ำมันเตี้ย และเมื่อพิจารณาถึงความชุก ชุมสัมพัทธ์ พบว่ามดคันไฟ (Solenopsis geminata) เป็นชนิดพันธุ์เด่นที่พบทั้งในสวนปาล์มน้ำมัน เตี้ยและสวนปาล์มน้ำมันสูง |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
มด - - การควบคุมทางชีววิทยา |
th_TH |
dc.subject |
แมลงศัตรูพืช - - การควบคุมคุณภาพ |
th_TH |
dc.subject |
ปาล์มน้ำมัน - - ไทย - - ชลบุรี |
th_TH |
dc.subject |
ปาล์มน้ำมัน - - โรคและศัตรูพืช |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา |
th_TH |
dc.title |
ความหลากหลายของมดและแมลงศัตรูปาล์มน้ำมัน : กรณีศึกษาจังหวัดชลบุรี ภาคตะวันออกของประเทศไทย |
th_TH |
dc.title.alternative |
Diversity of ants and insect pests in oil palm orchards : a case study of Chon Buri Province, Eastern Thailand |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
salineek@buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2560 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
The species diversity and abundance of ground-foraging ants in Oil palm plantations: a case study in Chon Buri province, eastern Thailand was conducted in taller and shorter oil palm plantations between January and November 2017 with 3 different methods including pitfall traps, tuna-bait traps and sugar-bait traps. Overall, the total number of ant individuals was 124440, of which 44772 ant were in taller oil palm plantations and 79668 ant in shorter oil palm plantations. Accordingly, 39 species in 26 genera in 5 subfamilies, including Dolichoderinae, Dorylinae, Formicinae, Myrmicinae and Ponerinae, were recorded. The shorter oil palm plantations was the richest area with 32 species in 22 genera and 5 subfamilies and the taller oil palm plantation with 30 species in 25 genera and 5 subfamilies. Considering the sampling methods, the pitfall trap caught the greatest number of subfamilies, genera and species of ants as opposed to the other ways. The pitfall trap sampling technique gathered up 38 species in 25 genera and 5 subfamilies, representing 97.44% of the total number of species. According to measures of species diversity, the results show that with respect to the average values of the Shannon Diversity Index (H’) and the Evenness index (E’) of taller oil palm plantation are higher than those of shorter oil palm plantation. The most abundant ant species was Solenopsis geminata in taller and shorter oil palm plantations. |
en |