dc.contributor.author |
สุรินทร์ อินทะยศ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2021-06-17T09:12:30Z |
|
dc.date.available |
2021-06-17T09:12:30Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4198 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อประเมินศักยภาพของจังหวัดจันทบุรี ในการพัฒนาเข้าสู่นครอัญมณีของโลก และ 2) จัดทำข้อเสนอแนะเชิงกลยุทธ์และ แผนปฏิบัติการให้กับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน โดยใช้ระเบียบวิจัยแบบผสมผสาน ได้แก่ 1) การวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกหัวหน้าหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน 2) การวิจัยเชิงปริมาณ ด้วยการวิจัยเชิงสำรวจ
จากกลุ่ม ผู้ประกอบการชาวจันทบุรี ผู้ประกอบการชาวไทยต่างถิ่นและชาวต่างชาติ
นักท่องเที่ยวชาวไทยและต่างชาติจำนวน 470 คน ผลการประเมินศักยภาพ พบว่า
จังหวัดจันทบุรีมีปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ด้านระบบตลาด ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านสถาบัน
และด้านอื่น ๆ ที่เพียงพอในการสนับสนุนการเป็นศูนย์การการค้าอัญมณีของโลก
ยกเว้นปัจจัยด้านการตลาดและกฎระเบียบบางด้านที่ยังขาดหายไป ปัจจัยที่สำคัญ
ที่จะทำให้จังหวัดจันทบุรีสามารถพัฒนาไปสู่นครแห่งอัญมณีของโลกได้ก็คือ มีทำเล
ที่ตั้งหมาะสม มีสิ่งอำนวยความสะดวกเพียงพอ และมีกฎระเบียบที่เอื้อต่อการประกอบการ
ัจจัยที่เป็นอุปสรรคที่สำคัญ คือ วัตถุดิบ แรงงาน การตลาด และรูปแบบสินค้า
ผลการวิจัยได้ถูกนำมาจัดทำแผนยุทธศาสตร์ “2022 จันทบุรีนครอัญมณี ศูนย์กลาง
การค้าอัญมณีและเครื่องประดับโลก” ประกอบด้วยยุทธศาสตร์หลักในการพัฒนา
5 ด้าน ได้แก่ 1) การจัดการวัตถุดิบ 2) การพัฒนาแรงงานฝีมือและพัฒนามาตรฐาน
กระบวนการผลิตภัณฑ์ 3) การพัฒนาและขยายตลาดอัญมณีและเครื่องประดับ
ในระดับสากล 4) การปรับปรุงและพัฒนากลไกของรัฐเพื่อเพิ่มศักยภาพให้ผู้ประกอบการ
และ 5) การเพิ่มความเข้มแข็งของการจัดการและอุตสาหกรรมสนับสนุน |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
การพัฒนาอุตสาหกรรม -- ไทย -- จันทบุรี |
th_TH |
dc.subject |
อุตสาหกรรมอัญมณี -- ไทย -- จันทบุรี |
th_TH |
dc.subject |
สาขาสังคมวิทยา |
|
dc.title |
การประเมินศักยภาพในการยกระดับจังหวัดจันทบุรีสู่นครแห่งอัญมณีของโลก |
th_TH |
dc.title.alternative |
Assessment on the promotion of Chanthaburi province to world's gemstone trading center |
en |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.issue |
1 |
th_TH |
dc.volume |
28 |
th_TH |
dc.year |
2563 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this research was 1) to evaluate the potential of
Chanthaburi province to be developed into the World’s Gemstone
Trading Center and 2) to produce the strategic recommendations and
action plans for government and private sector to use in their work.
Mixed methodology research utilized included 1) qualitative research
using in-depth interview which was conducted with the heads of
government and private sectors and 2) quantitative research usingsurvey
research technique which was employed to the total of 470 people
from the group of Thai and foreign gems and jewelry entrepreneurs and
Thai and foreign tourists. From the potential assessment, it was found
that Chanthaburi province had economic factors, market systems,
infrastructure, institutions, and other aspects that were sufficient to
support the establishment of the world’s gemstone trade center.
However, there were some problems with law and regulations. The
important factors that made Chanthaburi the world’s gemstone
trade center were good location, good facilities and regulations that
were conducive to entrepreneurship. The Important obstacle factors
were raw materials, labor, marketing, and product styles. The results of
the research have been used to formulate the strategic plan of “2022
Chanthaburi Province, the World’s Gemstone Trading Center” Five main
development strategies included 1) raw material management, 2) skilled
labor development and product development, 3) international gems
and jewelry marketing, 4) improvement and development of the
government sector, and 5) strengthening management and supporting
industry |
en |
dc.journal |
วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.page |
269-296. |
th_TH |