dc.contributor.author |
บุญเชิด หนูอิ่ม |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2021-05-23T05:51:39Z |
|
dc.date.available |
2021-05-23T05:51:39Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4083 |
|
dc.description.abstract |
การศึกษาความเปลี่ยนแปลงและกระบวนการสร้างประชาธิปไตยในชนบทภาคตะวันออกของประเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และศึกษากระบวนการการสร้างประชาธิปไตยในชนบท โดยศึกษาผ่านมุมมองทางประวัติศาสตร์ชุมชน พื้นที่ที่ใช้ศึกษาจำนวน 3 พื้นที่ ซึ่งเป็นตัวแทนของชุมชนชนบทในเขตต่าง ๆ ผลการศึกษาพบว่า ในกระบวนการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตเกิดการเปลี่ยนจากสังคมเกษตรกรรมสู่สังคมผู้ประกอบการที่ผลิตสู่ตลาดโดยตรง มีสถาบันทางสังคมทั้งที่มีรูปแบบเป็นทางการและไม่เป็นทางการ การเคลื่อนไหวของประชาธิปไตยในชุมชนมีสองรูปแบบ คือ ประชาธิปไตยจากบนสู่ล่าง และประชาธิปไตยจากล่างสู่บน โดยเกิดจากการรวมตัวของเครือข่ายและชาวบ้านต่อรองอยู่กับอำนาจที่เป็นทางการ เพื่อปรับความสัมพันธ์ทางสังคมใหม่ การสร้างตัวตนทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ผ่านการต่อรองหลายรูปแบบ ในด้านโครงสร้างทางอารมณ์ความรู้สึกของผู้คนและด้านมิติทางเศรษฐกิจ ชาวบ้านต่างมีวิธีคิดและความรู้สึกเชิงการค้า กล่าวคือ การคำนึงถึงการแสวงหากำไรและความมั่นคั่งในชีวิต ด้านมิติทางการเมือง การเลือกตั้งหมายถึง หลักประกันในเชิงนโยบายที่คาดว่าตนเองจะได้รับโอกาสในการประกอบการทางเศรษฐกิจ การแสดงตัวตนผ่านพื้นที่สาธารณะ กระบวนการประชาธิปไตยจึงหมายถึง การเปิดโอกาสให้ผู้คนในสังคมสามารถเข้ามาแสดงความคิดเห็น ท้าทาย ต่อรองเข้ามามีส่วนร่วม ตรวจสอบการใช้อำนาจ และแสดงตัวตนทางสังคมได้อย่างมีอิสระเพื่อสร้างโอกาสในการดำเนินชีวิตประจำวัน |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ประชาธิปไตย |
th_TH |
dc.subject |
การพัฒนาประชาธิปไตย |
th_TH |
dc.subject |
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม |
th_TH |
dc.subject |
สาขาสังคมวิทยา |
th_TH |
dc.title |
ความเปลี่ยนแปลงและกระบวนการสร้างประชาธิปไตยในชนบทภาคตะวันออกของประเทศไทย |
th_TH |
dc.title.alternative |
The changes and democratization process in the rural eastern areas in Thailand |
en |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.issue |
3 |
th_TH |
dc.volume |
28 |
th_TH |
dc.year |
2563 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
The study of changes and democracy processes in rural eastern areas in Thailand aimed to study economic, social, political and the democratic process in rural areas through the historical perspective of the three rural communities. The results indicated changes in the way of life. There is a transition from an agricultural society to a society in which entrepreneurs produce directly to the market. The community democracy movement is characterized by two forms: the top-down democracy and the bottom-to-top democracy. Networks and villagers negotiate with formal powers to reorganize social relationships. The emotional structure of people in economic dimensions has a commercial way of thinking and feeling. This means that they consider the pursuit of profit and security. The political dimension of elections means the policy guarantees that they are expected to be given economic opportunity. Presenting their identities in the public sphere, the democratic process is not just a form, but it means enabling people in society to express their opinions, challenge, negotiate, participate and ensure the independent use of power and self-expression in society to create opportunities in daily life. |
en |
dc.journal |
วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
th_TH |
dc.page |
92-115. |
th_TH |