dc.contributor.author |
วิชัย แย้มหลั่งทรัพย์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2021-04-27T07:27:05Z |
|
dc.date.available |
2021-04-27T07:27:05Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4055 |
|
dc.description |
โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (เพิ่มเติม) Routine to research (R2R) |
th_TH |
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความพึงพอใจของนิสิตนิเทศศาสตร์ต่อการเรียนการสอนในหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต ปรับปรุง 2554 2) ศึกษาความพึงพอใจของหน่วยงานต่อนิสิตนิเทศศาสตร์ที่ไปฝึกงาน ประจาปีการศึกษา 2559 3) ศึกษาความสัมพันธ์ และเปรียบเทียบระหว่างตัวแปรด้านเพศ สถานภาพการศึกษา และกลุ่มวิชาเอกของนิสิตกับความพึงพอใจในการเรียนการสอน และ4) ศึกษาความสัมพันธ์ และเปรียบเทียบระหว่างตัวแปรด้านเพศ และกลุ่มวิชาเอก ของนิสิตกับความพึงพอใจของหน่วยงานต่อนิสิตฝึกงาน ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ นิสิตภาควิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ชั้นปีที่ 4 จำนวน 377 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม 5 ระดับ ซึ่งพบว่าความพึงพอใจของนิสิตนิเทศศาสตร์ต่อการเรียนการสอนในหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต ปรับปรุง 2554 อันดับที่หนึ่งคือ ด้านการสอน ด้านวิธีการสอน และกิจกรรมการเรียนการสอน อันดับสองด้านเนื้อหารายวิชาในหลักสูตรกลุ่มวิชาเฉพาะ อันดับสามด้านเนื้อหารายวิชาในหลักสูตรกลุ่มวิชาแกน อันดับสี่ด้านการวัด และประเมินผลการเรียนการสอน และอันดับสุดท้ายคือด้านปัจจัยสนับสนุนการเรียนการสอน
เมื่อศึกษาและเปรียบเทียบความความพึงพอใจของหน่วยงานต่อนิสิตนิเทศศาสตร์ที่ไปฝึกงาน ประจาปีการศึกษา 2559 ซึ่งพบว่า 3 อันดับแรกคือ 1) ด้านมีมนุษย์สัมพันธ์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น 2) ด้านการประพฤติตามระเบียบวินัยของหน่วยงาน และ 3) ด้านการเข้าปฏิบัติงานตรงต่อเวลา เมื่อเปรียบเทียบนิสิตที่เรียนกลุ่มวิชาที่แตกต่างกัน จะได้รับผลประเมินความพึงพอใจของหน่วยงานต่อนิสิตฝึกงานที่แตกต่างกัน เพศชายกับเพศหญิงผลประเมินความพึงพอใจไม่แตกต่างกัน และผลประเมินความพึงพอใจนิสิตฝึกงานภาคปกติ กับภาคพิเศษ ไม่แตกต่างกัน |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
นักศึกษา - - ความพอใจ |
th_TH |
dc.subject |
นิเทศศาสตร์ - - การศึกษาและการสอน |
th_TH |
dc.subject |
สาขาการศึกษา |
th_TH |
dc.title |
โครงการความพึงพอใจของนิสิตนิเทศศาสตร์ต่อการเรียนการสอนในหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต ปรับปรุง 2554 และความพึงพอใจของหน่วยงานต่อนิสิตนิเทศศาสตร์ที่ไปฝึกงาน ประจำปีการศึกษา 2559 |
th_TH |
dc.title.alternative |
The satisfaction of communication arts students towards teaching in the bachelor of communication arts program update 2011 and the satisfaction of the agency to the students of communication arts to the internship yearly academic year 2016 |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
wichaiym@buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2560 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
This research Aims 1) To study The Satisfaction of Communication Arts Students towards Teaching In the Bachelor of Communication Arts Program, Course Improvement 2011. 2) To study the satisfaction of the agency to the students of Communication Arts to the internship. Yearly academic 2016. 3) to Study relationships and Comparison between sex, Education, major with the students satisfaction in department. And 4) to comparison relationships between sex, majors of study with organization’s satisfaction during students apprentice. The population used in the research was in Students Communication Arts. Burapha University. (4th year-377 Persons) The research instrument was a five-level questionnaires
Result found that students have satisfied toward study in Communication Arts department. First is Lecturer teaching, way to teach, and activities creation. The second dimension that students has satisfied is the course. The third is the courses in Core Courses, the Fourth is evaluation. And the fifth is factor supporting teaching.
Mentors from agencies have satisfied students as follows 1) working with another people 2) students’ behavior during apprentice 3) go to work on time. When comparing students who study different subjects. The results of the evaluation of the satisfaction of the different internship students. Males and females were not significantly different. The results of the evaluation from normal section students and contribution section student no different. |
en |