DSpace Repository

การเจริญและการพัฒนาของตัวอ่อนและปลาวัยอ่อนในปลาการ์ตูนอานม้า (Amphiprion polymnus linnaeus (1758)

Show simple item record

dc.contributor.author สุขใจ รัตนยุวกร
dc.contributor.author กรรณิกา ชัชวาลวานิช
dc.contributor.author พิสุทธิ์ มังกรกาญจน์
dc.contributor.author อมรา ทองปาน
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล en
dc.date.accessioned 2021-04-23T13:14:40Z
dc.date.available 2021-04-23T13:14:40Z
dc.date.issued 2548
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4043
dc.description ภายใต้แผนงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงปลาสวยงามน้ำเค็มในกลุ่มปลาการ์ตูน ประจำปี 2546-2547ทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2546-2547 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.description.abstract พ่อแม่พันธุ์ปลาการ์ตูนอานม้า Amphiprion polymus Linnaeu (1758) จากอ่าวไทยนำมาเลี้ยงในห้องปฎิบัติการ เพื่อเฝ้าสังเกตุพฤติกรรมการวางไข่ การเจริญและพัฒนาของตัวอ่อนพบว่าปลาการ์ตูนอานม้าสามารถวางไข่ได้ตลอดทั้งปี โดยมีวงจรสืบพันธุ์ทุก 14-21 วัน การเจริญและพัฒนาของตัวอ่อนแบ่งออกเป็น 26 ระยะตามรูปร่างลักษณะของตัวอ่อน ภายหลังจากปฎิสนธิ 148+8 ชั่วโมง ไข่จึงฟักออกมา ลูกปลาจะมีรูปร่างและมีแถบสีเหมือนกับพ่อแม่เมื่ออายุ 13 วัน และอายุ 24-26 วันตามลำดับ สำหรับการเจริญและพัฒนาของอวัยวะสืบพันธุ์และการเปลี่ยนเพศ พบว่าลูกปลาอายุ 1 เดือนยังไม่มีการแยกเพศ พบเพียง primordial germ cells อยู่กันเป็นกลุ่ม ในขณะที่ปลาอายุ 2-3 เดือนแสดงเพศเป็นกะเทย มีเซลล์สืบพันธุ์ระยะแรกของทั้งเพศผู้และเพศเมียอยู่ด้วยกัน กระบวนการสร้างอสุจิเริ่มพบเมื่อปลามีอายุ 4 เดือน ซึ่งเนื้อเยื่ออัณฑะประกอบด้วยเซลล์ทุกระยะของกระบวนการสร้างอสุจิ ในขณะที่เนื้อเยื่อรังไข่ประกอบไปด้วย oogonia และ oocytes ระยะ cgromatin nucleolus และระยะ perincleolar การเปลี่ยนเพศจากกะเทยเป็นเพศเมียเกิดขึ้นเมื่อปลามีอายุ 12 เดือน โดยพบลักษณะการเสื่อมสลายของเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ การสะสมของสารสีเหลืองอมน้ำตาล และมี vitellogenic oocytes ซึ่งพบจำนวนมากขึ้นก่อนที่จะมีการวางไข่ ปลาที่ทำหน้าที่เพศผู้อย่างสมบูรณืจะมีทั้งเนื้อเยื่ออัณฑะและเนื้อเยื่อรังไข่ประกอบกันเป็นอวัยวะสืบพันธุ์ ในขณะที่ปลาเพศเมียมีเพียงเนื้อเยื่อรังไข่อย่างเดียว ทั้งนี้ปลาเพศเมียส่วนใหญ่จะมีการวางไข่เมื่อายุ 14 เดือน th_TH
dc.description.sponsorship สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ปลาการ์ตูนอานม้า - - การเจริญเติบโต th_TH
dc.subject ปลาการ์ตูนอานม้า - - คัพภวิทยา th_TH
dc.subject ปลาการ์ตูนอานม้า - - ตัวอ่อน th_TH
dc.subject ปลาการ์ตูนอานม้า - - วิจัย th_TH
dc.subject ปลาการ์ตูนอานม้า th_TH
dc.title การเจริญและการพัฒนาของตัวอ่อนและปลาวัยอ่อนในปลาการ์ตูนอานม้า (Amphiprion polymnus linnaeus (1758) th_TH
dc.title.alternative Growth and development of Saddleback Anemonefish Amphiprion polymnus Linnaeus (1758) en
dc.type Research th_TH
dc.year 2548 th_TH
dc.description.abstractalternative The breeding pairs of saddleback anemonefish, Amphiprion polymus were brought from the Gulf of Thailand and reared in laboratory to observe their spawning behavior, eggs and embryonic development. The spawning was found to be all-year-round with the reproductive cycle between 14-21 days. The process of embryonic development could be divided into 26 stages based on morphological characteristics of the developing embryo. Hatching took [lace 148-8 hours aftfer fetilization. Their shape and color stripe resembled the mature saddleback anemonefish on day 13 and days 24-26, respectively. As for their gonadal development and sex inversion, one-month juveniles had sexually undifferentiated ganads with primordial germ cells aggregated in groups, while two-to-three-month juvenlies displayed immature heremaphroditic gonads containing early development stages of both male and female germ cells. Spermatogenesis began at 4 months having testicular tissue comprising of spermatogenesis cells in all developmental stages, while ovarian tissue consisted of oogonia, oocytes in chromatinnulleolus stage and perincleolar stage. Protandric sex inversion first occurred at 12 months. Sex change was characterized by degeneration of male germ cells, deposition of yellow-brown pigment and the formation vittlogenic oocytes. Before spawing activity began, their gonads contain female germ cells in all stage with numerous vitellogenic oocytes, whereas functional males had both ovarian and testicular tissues. Most females of breeding pairs had mature oocytes in their gonads and began to spawn when they reached 14 months. The gonad of mature male saddleback anemonefish was ovotestis containing both testicular and ovarian tiaaues, while that of mature female consisted of ovarian only. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account