DSpace Repository

ความหลากหลายของมดในหมู่เกาะแสมสาร เกาะแรด เกาะจวง และเกาะจาน อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

Show simple item record

dc.contributor.author สาลินี ขจรพิสิฐศักดิ์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-09-30T08:21:56Z
dc.date.available 2020-09-30T08:21:56Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3967
dc.description โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 สัญญาเลขที่ 187/2561 th_TH
dc.description.abstract มดในเกาะแสมสาร เกาะแรด เกาะจวง และเกาะจาน อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ดำเนินการศึกษาในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2562 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 พบมดทั้งสิ้น 27 ชนิด จาก 19 สกุล 6 วงศ์ย่อย โดยเกาะแสมสาร พบมด 20 ชนิด จาก 17 สกุล 5 วงศ์ย่อย มดในวงศ์ย่อยมดคันไฟ พบจำนวนชนิดมากที่สุด 11 ชนิด 7 สกุล คิดเป็น 55 เปอร์เซ็นต์ ของจำนวนชนิดมดทั้งหมด รองลงมาได้แก่ วงศ์ย่อยมดแดง พบ 4 ชนิด 4 สกุล คิดเป็น 20 เปอร์เซ็นต์ วงศ์ย่อยมดไอ้ชื่น พบ 4 ชนิด 4 สกุล คิดเป็น 20 เปอร์เซ็นต์ วงศ์ย่อยมดก้นห้อย พบ 1 ชนิด 1 สกุล คิดเป็น 5 เปอร์เซ็นต์ และวงศ์ย่อยมดตะนอย พบ 1 ชนิด 1 สกุล คิดเป็น 5 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ เกาะแรด พบมด 15 ชนิด จาก 13 สกุล 5 วงศ์ย่อย มดในวงศ์ย่อยมดคันไฟ พบจำนวนชนิดมากที่สุด 8 ชนิด 6 สกุล คิด เป็น 50 เปอร์เซ็นต์ ของจำนวนชนิดมดทั้งหมด รองลงมาได้แก่ วงศ์ย่อยมดแดงพบ 3 ชนิด 3 สกุล คิดเป็น 18.75 เปอร์เซ็นต์ วงศ์ย่อยมดไอ้ชื่น พบ 3 ชนิด 3 สกุล คิดเป็น 18.75 เปอร์เซ็นต์ วงศ์ย่อย มดก้นห้อย พบ 1 ชนิด 1 สกุล คิดเป็น 6.25 เปอร์เซ็นต์ และวงศ์ย่อยมดตะนอย พบ 1 ชนิด 1 สกุล คิดเป็น 6.25 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ เกาะจวงพบมด 12 ชนิด 10 สกุล 4 วงศ์ย่อย มดในวงศ์ย่อยมด คันไฟ มีจำนวนชนิดมากที่สุด พบ 7 ชนิด จาก 5 สกุล คิดเป็น 58.34 เปอร์เซ็นต์ของจำนวนชนิดมด ทั้งหมด รองลงมาคือ วงศ์ย่อยมดแดง พบ 3 ชนิด 3 สกุล คิดเป็น 25 เปอร์เซ็นต์ วงศ์ย่อยมดก้นห้อย พบ 1 ชนิด 1 สกุล คิดเป็น 8.33 เปอร์เซ็นต์ และวงศ์ย่อยมดไอ้ชื่น พบ 1 ชนิด 1 สกุล คิดเป็น 8.33 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ และเกาะจาน พบมด 10 ชนิด 10 สกุล 4 วงศ์ย่อย มดในวงศ์ย่อยมดคันไฟ มีจำนวนชนิดมากที่สุด พบ 5 ชนิด จาก 5 สกุล คิดเป็น 50 เปอร์เซ็นต์ของจำนวนชนิดมดทั้งหมด รองลงมาคือ วงศ์ย่อยมดแดง พบ 3 ชนิด 3 สกุล คิดเป็น 30 เปอร์เซ็นต์ วงศ์ย่อยมดสีสนิม พบ 1 ชนิด 1 สกุล คิดเป็น 10 เปอร์เซ็นต์ และวงศ์ย่อยมดก้นห้อย พบ 1 ชนิด 1 สกุล คิดเป็น 10 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ th_TH
dc.description.sponsorship สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject มด - -ไทย - -ชลบุรี th_TH
dc.subject มด th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title ความหลากหลายของมดในหมู่เกาะแสมสาร เกาะแรด เกาะจวง และเกาะจาน อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี th_TH
dc.title.alternative Ant Fauna of Ko Samaesarn, Ko Raet, Ko Chuang and Ko Chan, Sattahip District, Chon Buri Province under the Plant Genetic Conservation under the Royal Initiative of Her Highness Princess Maha Jakri Sirindhorn en
dc.type Research th_TH
dc.author.email salineek@buu.ac.th th_TH
dc.year 2563 th_TH
dc.description.abstractalternative Ant fauna of Ko Samaesarn, Ko Raet, Ko Chuang and Ko Chan in Sattahip District, Chon Buri Province were conducted from November 2019 to February 2020. At least 27 ant species in 19 genera and 6 subfamilies were recognized. In Ko Samaesarn, 20 species in 17 genera and 5 subfamilies were reported. In details, the richest subfamily was the Myrmicinae (11 species in 7 genera, representing 55% of the total number of species.), followed by the Formicinae (4 species in 4 genera, 20%), the Ponerinae (4 species in 4 genera, 20%), the Dolichoderinae (1 species in 1 genus, 5%), and the Pseudomyrmecinae (1 species in 1 genus, 5%), respectively. In Ko Raet, 15 species in 13 genera and 5 subfamilies were known. In details, the richest subfamily was the Myrmicinae ( 8 species in 6 genera, representing 50% of the total number of species), followed by the Formicinae (3 species in 3 genera, 18.75%), the Ponerinae ( 3 species in 3 genera, 18.75% ) , the Dolichoderinae ( 1 species in 1 genus, 6.25%), and the Pseudomyrmecinae (1 species in 1 genus, 6.25%), respectively. In Ko Chuang, 12 species in 10 genera and 4 subfamilies were known. In details, the richest subfamily was the Myrmicinae (7 species in 5 genera, representing 58.34% of the total number of species), followed by the Formicinae (3 species in 3 genera, 25%), and the Dolichoderinae (1 species in 1 genus, 8.33%), and the Ponerinae (1 species in 1 genus, 8.33%), respectively. Finally, in Ko Chan, 10 species in 10 genera and 4 subfamilies were known. In details, the richest subfamily was the Myrmicinae (5 species in 5 genera, representing 50% of the total number of species), followed by the Formicinae (3 species in 3 genera, 30%), and the Amblyoponinae (1 species in 1 genus, 10%), and the Dolichoderinae (1 species in 1 genus, 10%), respectively. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account