DSpace Repository

ทัศนคติและความเเข้าใจในเกี่ยวกับแมงกะพรุนพิษของชุมชนริมชายฝั่งทะเลและนักท่องเที่ยวในจังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author จริยาวดี สุริยพันธุ์
dc.contributor.author สมถวิล จริตควร
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-08-09T04:04:30Z
dc.date.available 2020-08-09T04:04:30Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3939
dc.description.abstract ภาวการณ์ระบาดของกะพรุนพิษมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและมีผลกระทบทางตรงต่อการท่องเที่ยวชายฝั่ง และผลกระทบทางอ้อมต่อการประมงและสิ่งแวดล้อมจากปรากฏการณ์ที่นักท่องเที่ยวบริเวณหาดบางแสนได้สัมผัสกับกะพรุนพิษเป็นจำนวนมาก ทำให้การศึกษาเกี่ยวกับกะพรุนพิษมุ่งไปยังทัศนคติของนักท่องเที่ยวและชุมชนท้องถิ่น โดยใช้แบบสอบถามและการจับกลุ่มสัมภาษณ์จากนักท่องเที่ยว ผู้ประกอบการริมหาด ชุมชน และการจับกลุ่มสัมภาษณ์ในหน่วยรักษาความปลอดภัยทางทะเล ผลการศึกษาพบว่าผู้ประกอบการริมหาดมักพบนักท่องเที่ยวที่บาดเจ็บจากกะพรุนพิษ และรายได้ที่ลดต่ำลงจากภาวะที่กะพรุนบลูม การใช้น้ำส้มสายชูเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ใช้ในการรักษาพยาบาลเบื้องต้นในการลดความเป็นพิษของกะพรุน นอกจากนี้แนวทางการป้องกันและการสื่อสารเป็นส่วนสำคัญในการให้ข้อมูลและเพิ่มความตระหนักให้กับนักท่องเที่ยวและคนในพื้นที่ในการดูแลผู้บาดเจ็บจากกะพรุนพิษ และเป็นแนวปฏิบัติสำหรับมาตรการเฝ้าระวังและป้องกันการให้ข้อมูลและการเผยแพร่แบบสาธารณะจะเป็นประโยชน์ต่อการรายงานการพบกะพรุนในพื้นที่ รวมถึงการใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่รายงานการพบหรือไม่พบกะพรุนในแต่ละวัน ซึ่งสามารถใช้ในการสร้างความตระหนักในเรื่องความรู้เกี่ยวกับชนิดของกะพรุนต่าง ๆ ในอนาคต th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มหาวิทยาลัยบูรพา ผ่านสำนักงาน คณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject แมงพระพรุน - - พิษ th_TH
dc.subject นักท่องเที่ยว th_TH
dc.subject ทัศนคติ th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title ทัศนคติและความเเข้าใจในเกี่ยวกับแมงกะพรุนพิษของชุมชนริมชายฝั่งทะเลและนักท่องเที่ยวในจังหวัดชลบุรี th_TH
dc.title.alternative Attitude and Cognition in venomous jellyfish on coastal community and tourism, Chon buri province en
dc.type Research th_TH
dc.author.email jariyavadee@buu.ac.th th_TH
dc.author.email somtawin@buu.ac.th th_TH
dc.year 2563 th_TH
dc.description.abstractalternative Jellyfish outbreaks appear to be on the increase. That can have important direct impacts on coastal tourism and indirect impacts on fisheries and environment. The incidence of many tourists on Bangsaen beach, Chon Buri province exposed to the poison of jellyfish. The survey was focused on attitude of tourism and coastal community. The questionnaire and focus groups were used as the research instrument. The sample of this research consisted of Thai tourists who travelled to Bangsean beach, local vendors, coastal community were used the questionnaire while, some coastal community and marine security unit were organized by focus group. The result showed that local vendors always found the injury tourist and lower income that affected from Jellyfish bloom. The local knowledge for first aid was used vinegar for remove jellyfish envenoming. In addition to the prevention and communication are important to help educate and raise concern for tourists, and local people about caring patients exposed to jellyfish poisoning and used as a guideline for surveillance and prevention measures. Informational and public awareness campaigns of this kind are useful for providing public jellyfish reports and exploring the use of new technologies and real-time information daily reports informing users about the presence or absence of a jellyfish bloom at each beach. These campaigns may help to prevent the stigmatization of certain beaches and jellyfish species by raising awareness and knowledge of these species among beach recreationists and the general public for the future. th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account