dc.contributor.author |
ทวีชัย สำราญวานิช |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-04-22T06:48:27Z |
|
dc.date.available |
2020-04-22T06:48:27Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3901 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาความต้านทานการแทรกซึมคลอไรด์ของคอนกรีตที่เผชิญสิ่งแวดล้อมทะเลเป็นระยะเวลา 7 ปี โดยพิจารณาผลกระทบของชนิดปูนซีเมนต์ อัตราส่วนการแทนที่บางส่วนของวัสดุประสานด้วยเถ้าลอย และอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสานของคอนกรีตต่อความต้านทานการแทรกซึมคลอไรด์ของคอนกรีต พร้อมทั้งศึกษาการเกิดสนิมของเหล็กเสริมและพิจารณากำลังอัดของคอนกรีตด้วย
จากผลการศึกษาที่ระยะเวลา 7 ปี พบว่า คอนกรีตที่ใช้สารปอซโซลานชนิดต่าง ๆ ร่วมกับ
ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที 1 มีค่าความต้านทานการแทรกซึมคลอไรด์ในสิ่งแวดล้อมทะเล
ที่ดีมาก โดยมีสัมประสิทธิ์ การแพร่คลอไรด์ที่ต่ำและการสูญเสียน้ำหนักของเหล็กเสริมภายใน
คอนกรีตน้อยมาก สำหรับคอนกรีตที่ใช้เถ้าลอยแทนที่บางส่วนวัสดุประสานร้อยละ 60 มีความ
ต้านทานการแทรกซึมคลอไรด์ที่ดีที่สุด เนื่องจากผลผลิตจากปฏิกิริยาปอซโซลานิกของเถ้าลอย
และขนาดอนุภาคเถ้าลอยที่เล็กทำให้คอนกรีตมีความทึบแน่นขึ้น แต่กำลังอัดของคอนกรีตต่ำลง
อย่างมาก เนื่องจากการแทนที่ด้วยเถ้าลอยที่มากขึ้นหมายถึงปริมาณปูนซีเมนต์ที่ลดลง และเมื่อ
พิจารณากำลังอัดของคอนกรีตร่วมด้วย พบว่า คอนกรีตที่ใช้ปูนซีเมนต์ปอซโซลานและปูนซีเมนต์
ตะกรันถลุงเหล็ก มีกำลังอัดของคอนกรีตที่ดี และมีสัมประสิทธิ์ การแพร่คลอไรด์ที่น้อยและ
ใกล้เคียงกันมาก โดยที่อัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน 0.20 คอนกรีตที่ใช้ปูนซีเมนต์ปอซโซลานมี
กำลังอัดสูงถึงร้อยละ .96 และคอนกรีตที่ใช้ปูนซีเมนต์ตะกรันถลุงเหล็กมีกำลังอัดร้อยละ 70 ของ
คอนกรีตควบคุม |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนรัฐบาล) ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ.2561 |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
เถ้าลอย |
th_TH |
dc.subject |
นิเวศวิทยาทะเล |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย |
th_TH |
dc.title |
ความต้านทานการแทรกซึมคลอไรด์และการเกิดสนิมของเหล็กเสริมในคอนกรีตที่ใช้ปูนซีเมนต์ผสมเถ้าลอยบดและปูนซีเมนต์แทนที่บางส่วนด้วยเถ้าลอยภายใต้สิ่งแวดล้อมทะเล |
th_TH |
dc.title.alternative |
Chloride penetration resistance and corrosion of reinforcing steel in concrete containing interground fly ash cement and cement with partially replacement of fly ash under marine environment |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
twc@buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2562 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
The objectives of this investigation were to study the effect of chloride penetration
resistance of concrete after 7 years exposure in marine environment of Thailand. The effects of
cement type, fly ash to binder ratio and water to binder ratio in concrete were considered in this
study. In addition, corrosion of steel embedded in concrete and compressive strength of concrete
was also studied.
From the experimental results at 7 years, the results showed that concrete with
pozzolan materials had the best chloride penetration resistance, the lowest chloride diffusion
coefficient and the weight loss of embedded steel. For concrete using fly ash to replace Portland
cement type I at percentages of 60 by weight of binder results in better chloride penetration
resistance. Because products from pozzolanic reaction of fly ash and fine particles of fly ash make
concrete denser. But the increase fly ash replacement of cement is more effective reducing the
compressive strength of concrete. The effect of compressive strength and chloride penetration
resistance were considered, the results showed that the pozzolan concrete and blast-furnace slag
concrete had better compressive strength and lowest diffusion coefficient. The pozzolan concrete
and blast-furnace slag concrete with W/B ratio of 0.60 have 96 percent and 70 percent
compressive strength of control concrete respectively. |
en |