dc.contributor.author |
สุรีพร อนุศาสนนันท์ |
|
dc.contributor.author |
ระพินทร์ ฉายวิมล |
|
dc.contributor.author |
นฤดม พิมพ์ศรี |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-03-07T08:09:28Z |
|
dc.date.available |
2020-03-07T08:09:28Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3797 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ สำรวจองค์ประกอบของโมเดลความสุขตามแนวคิดความฉลาดทางอารมณ์ตามโมเดลของบาร์ออนที่ปรับปรุงใหม่สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี เพื่อพัฒนาโมเดล, มาตรวัด และศึกษาความสุขตามแนวคิดความฉลาดทางอารมณ์ของบาร์ออนที่ปรับปรุงใหม่สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาระดับปริญญาตรีในมหาวิทยาลัยของรัฐ ปีการศึกษา 2561 จำนวน 17 มหาวิทยาลัย โดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน
จำนวน 3,768 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นมาตรวัดความสุขตามแนวคิดความฉลาดทางอารมณ์ของบาร์ออนที่ปรับปรุงใหม่สำหรับนักศึกษาระดับ
ปริญญาตรี จำนวน 30 ข้อ ลักษณะมาตรวัดเป็นแบบสำรวจรายงานตนเอง
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ โมเดลความสุขตามแนวคิดความฉลาดทางอารมณ์ตามโมเดลของบาร์ออนที่ปรับปรุงใหม่สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มี 4 องค์ประกอบคือ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การนับถือตนเอง การเข้าถึงความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ และการมองโลกในแง่ดี มีค่าอัตราส่วนความตรงเชิงเนื้อหา
1.00 ทุกข้อ มีค่าพารามิเตอร์อำนาจจำแนก (1) ระหว่าง
-1.32 ถึง 2.17 ค่าพารามิเตอร์ Threshold ( 1) อยู่ระหว่าง 2.17 ถึง 7.48 ความตรงเชิงโครงสร้างวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน พบว่า ค่าไค-สแควร์
มีค่าเท่ากับ 658.22; p=.00000 ที่องศาอิสระเท่ากับ 48 ค่า 2 / df = 1.788 ค่า RMSEA เท่ากับ 0.019 นั่นแสดงว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ น้ำหนักองค์ประกอบ พบว่า มีค่าระหว่าง 0.82 ถึง 0.90 ค่า
สัมประสิทธิ์สรุปอ้างอิงแบบสัมพันธ์ มีค่า 0.947 ความตรงตามสภาพมีค่า 0.63 ส่วนเกณฑ์ปกติวิสัยระดับประเทศ มีคะแนนมาตรฐานทีปกติ อยู่ในช่วง 11 – 76 คะแนนทีปกติ ต่ำกว่า T27 มีระดับความสุขน้อย T27 ถึง T42 มีระดับความสุขน้อย T43 ถึง T58 มีระดับความสุขมาก T59 ขึ้นไป มีระดับความสุขมากที่สุด นักศึกษาส่วนใหญ่มีระดับความสุขน้อย คิดเป็นร้อยละ 58 รองลงมา
นักศึกษามีระดับความสุขระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 20.8 และความสุขน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 20.2 |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
งานวิจัยได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล
(งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 มหาวิทยาลัยบูรพา
ผ่านสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ความฉลาดทางอารมณ์ |
th_TH |
dc.subject |
สาขาการศึกษา |
th_TH |
dc.subject |
มาตรวัดความสุข |
th_TH |
dc.title |
การพัฒนามาตรวัดความสุขตามแนวคิดความฉลาดทางอารมณ์ของบาร์ออนที่ปรับปรุงใหม่สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี |
th_TH |
dc.title.alternative |
A Development of Happiness Scale based on Bar-On Emotional Intelligence Revised Model for Undergraduate Students |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
sirimal@go.buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
rapin.ch@gmail.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
zilong@hotmail.es |
th_TH |
dc.year |
2562 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
The objectives of this research were (i) to explore the components of
happiness based on the revised Bar-On model of emotional intelligence, and (ii) to develop the happiness model and scale based on the revised Bar-on model of emotional intelligence for undergraduate students. The samples selected by
multistage random sampling consisted on 3,768 undergraduate students from
seventeen Thai public universities in the academic year 2018. Research instrument
used in this study was a thirty-item and self-report happiness scale constructed
according to the revised Bar-On model of emotional intelligence.
The finding indicated that the happiness model based on the revised Bar-On model of emotional intelligence among undergraduate students consisted of four
main components: (i) interpersonal relationship, (ii) self-regard, (iii) self-actualization, and (iv) optimism. The scale property showed that content validity ratio (CVR) in every item was 1.00. Based on the item-response analysis, the findings showed that discriminant parameters (1 ) ranged from -1.32 to 2.17 and threshold parameters ( 1 ) ranged from 2.17 to 7.48. For the construct validity, the second-order
confirmatory factor analysis (CFA) revealed that the measurement model well fitted
with the empirical data as shown in the statistical indices: Chi-Square ( χ2)=658.22;
p=.000, df=48 , 2 / df =1.788, RMSEA=0.019. In addition, the factor loadings in the
CFA model ranged from 0.82 to 0.90. The generalizability coefficient was 0.947 and
concurrent validity was 0.63. The national norm using the normalized T scores
ranged from T11 to T76. The normalized T-scores can be classified into 4 groups: (i)
the least happy (Below T27), less happy (T27-T42), happy (T43-T58), the happiest
(more than T58). The finding based on the normalized T scores found that most
students (58%) had less happiness, followed by those with happiness (20.8%) and
those with the happiest (20.2%), respectively |
en |