DSpace Repository

ผลของการเจืออลูมิเนียมต่อสมบัติทางโครงสร้าง ทางแสงและทางไฟฟ้าของเส้นใยนาโนซิงค์ออกไซด์ที่ปั่นด้วยไฟฟ้าสถิต

Show simple item record

dc.contributor.author กัญจน์ชญา หงส์เลิศคงสกุล
dc.contributor.author จิราภรณ์ พงษ์โสภา
dc.contributor.author ภัททิรา หอมหวน
dc.contributor.author ดุสิต งามรุ่งโรจน์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยราชภัฏอยุธยา. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-02-06T02:04:26Z
dc.date.available 2020-02-06T02:04:26Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3766
dc.description.abstract เส้นใยนาโนอลูมิเนียมซิงค์ออกไซด์จะสังเคราะห์ด้วยเทคนิคการปั่นเส้นใยนาโนด้วยไฟฟ้าสถิตซึ่งมีสารซิงค์อะซีเตท โพลีไวนิลแอลกอฮอล์ และอลูมิเนียมไนเตรต โนนาไฮเดรตเป็นสารตั้งต้น เส้นใยนาโนของสารละลาย ZnAc:PVA ที่มีปริมาณสารอลูมิเนียมไนเตรต โนนาไฮเดรตที่แตกต่างกัน คือ 0, 1, 3, 5 และ 7 g จะปั่นลงบนแผ่นรองรับ ในการปั่นจะใช้ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่แตกต่างกันคือ 18 20 22 และ 24 kV และระยะห่างระหว่างปลายเข็มฉีดยากับแผ่นโลหะรองรับที่แตกต่างกันคือ 8 9 10 11 และ 12 cm เส้นใยนาโนที่ปั่นได้จะนำไปอบที่อุณหภูมิที่แตกต่างกันคือ 400 450 500 550 และ 600๐C เส้นใยนาโนซิงค์ออกไซด์ที่ได้ทั้งหมดจะนำไปวิเคราะห์สมบัติทางโครงสร้าง ทางแสง และทางไฟฟ้าการวัดลักษณะทางสัณฐานของเส้นใยนาโนอลูมิเนียมซิงค์ออกไซด์ด้วยเครื่อง Scanning Electron Microscope (SEM) พบว่าเส้นใยที่ได้ทั้งหมดมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางอยู่ในระดับนาโนเมตร ลักษณะทางโครงสร้างผลึกที่ศึกษาด้วยเทคนิค X-ray Diffraction (XRD) ยืนยันว่าเส้นใยนาโนซิงค์ออกไซด์ทั้งที่ไม่เจือและเจือด้วยอลูมิเนียมมีโครงสร้างความเป็นผลึก การวิเคราะห์สมบัติทางแสงด้วยเครื่อง Uv-Vis spectroscopy พบว่า ค่าแถบพลังงานแสงของเส้นใยนาโนอลูมิเนียมซิงค์ออกไซด์อยู่ในช่วง 3.02-3.23 eV ในขณะที่การวัดสภาพต้านทางไฟฟ้าพบว่า เส้นใยนาโนอลูมิเนียมซิงค์ออกไซด์มีสภาพต้านทานไฟฟ้าอยู่ในช่วง 1.50 x10-4- 1.98x10-4 Ωm สมบัติทางโครงสร้าง ทางแสงและทางไฟฟ้าของเส้นใยนาโนอลูมิเนียมซิงค์ออกไซด์จะขึ้นกับปริมาณของอลูมิเนียมไนเตรต โนนาไฮเดรต ความต่างศักย์ไฟฟ้า ระยะห่างระหว่างปลายเข็มฉีดยากับแผ่นโลหะรองรับ และอุณหภูมิที่ใช้อบ th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ th_TH
dc.title ผลของการเจืออลูมิเนียมต่อสมบัติทางโครงสร้าง ทางแสงและทางไฟฟ้าของเส้นใยนาโนซิงค์ออกไซด์ที่ปั่นด้วยไฟฟ้าสถิต th_TH
dc.title.alternative Effect of Al-doping on the structure, optical and electrical properties of electrospun zinc oxide nanofibers en
dc.type Research th_TH
dc.author.email Kanchaya@go.buu.ac.th th_TH
dc.author.email jira0224@gmail.com th_TH
dc.author.email pattira_h@hotmail.com th_TH
dc.author.email liew_cu@yahoo.com th_TH
dc.year 2562 th_TH
dc.description.abstractalternative Aluminium doped Zinc Oxide (AZO) nanofibers were synthesized by electrospinning technique using zinc acetate, polyvinyl alcohol and aluminium nitrate nonahydrate as precursors. The nanofibers of ZnAc:PVA solution, which has various aluminium nitrate nonahydrate quantity such as 0, 1, 3, 5 and 7 g, were spun on the substrate. To spin will run at different voltages, such as 18, 20, 22 and 24 kV and at different distances between needle tip and substrate, such as 8, 9, 10 11 and 12 cm. The spun nanofibers were annealed at different annealing temperatures, such as 400, 450, 500, 550 and 600๐C. All of AZO nanofibers were analyzed on the structural, optical and electrical properties. The morphology measurement of AZO nanofibers by Scanning Electron Microscope (SEM) showed that the diameter of all AZO fibers is in the nanometer range. Structural characterization by X-ray diffraction (XRD) technique confirmed being of crystallization of undoped and doped ZnO nanofibers from aluminium. Optical characterization by Uv-Vis spectroscopy showed that optical energy bandgap of a AZO nanofibers was found in the range 3.02-3.23 eV. While the resistivity measurement showed that the resistivity of AZO nanofibers was found in the range of 1.50 x10-4- 1.98x10-4 Ωm. The structural, optical and electrical properties of AZO nanofibers depend upon the aluminium nitrate nonahydrate quantity, voltages, distances between needle tip and substrate and annealing temperature en
dc.keyword เส้นใยนาโน th_TH
dc.keyword ซิงค์ออกไซด์ th_TH
dc.keyword การปั่นด้วยไฟฟ้าสถิต th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account