dc.contributor.author |
พิทักษ์ สูตรอนันต์ |
|
dc.contributor.author |
กล่าวขวัญ ศรีสุข |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-10-04T07:40:24Z |
|
dc.date.available |
2019-10-04T07:40:24Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3688 |
|
dc.description.abstract |
จากการนำข้อมูลสารออกฤทธิ์ของพืชสมุนไพร ขลู่ (Pluchea indica (L.) Less) และพืชสมุนไพรชนิด อื่น ซึ่งเป็นพืชสมุนไพรในภาคตะวันออก มาใช้เป็นแหล่งอ้างอิงเพื่อนำมาใช้ในการค้นหาโปรตีนเป้าหมายและกลุ่มโปรตีนที่มีปฏิสัมพันธ์ร่วม โดยการใช้ฐานข้อมูลสาธารณะและเครื่องมือทางชีวสารสนเทศที่ประกอบไป ด้วย (1) การค้นหาโปรตีนเป้าหมายของสารออกฤทธิ์ (2) การสืบค้นข้อมูลปฏิสัมพันธ์ระหว่างโปรตีนกับโปรตีน (3) การค้นหาข้อมูลยีนที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบ (4) การวิเคราะห์เครือข่ายและการค้นหาโมดูลร่วมกับการใช้ ข้อมูลของโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบ และ (5) การแปลผลทางชีวภาพ ภายหลังการตรวจสอบเครือข่ายทางชีวภาพของสารออกฤทธิ์ทั้ง 10 ชนิด ได้แก่ Apigenin, Fisetin, Kaempferol, Quercetin, Myricetin, Isorhamnetin, Catechin, Epigallocatechin gallate, Epicatechin และ Theaflavin แล้ว พบโมดูลการ อักเสบที่เป็นโปรตีนเป้าหมาย จำนวนตั้งแต่ 1 ถึง 12 โมดูล และเมื่อนำผลของสารออกฤทธิ์ที่เป็นองค์ประกอบ ของใบขลู่และพืชกลุ่มชามาพิจารณา ก็จะพบโปรตีนเป้าหมายจำนวน 25 โปรตีน ที่มีบทบาทสำคัญต่อการยับยั้งการตอบสนองการอักเสบของสารออกฤทธิ์ 8 ชนิด และที่เกี่ยวข้องกับวิถีพาธเวย์หลักที่นิยมศึกษาใน ห้องปฏิบัติการได้แก่ วิถีการส่งสัญญาณ MAPK, NF-𝜅B และ JAK-STAT ก็จะพบโปรตีนเป้าหมายจำนวน 6 โปรตีน ได้แก่ PTGS2, NFKB1, MAPK14, NOS2, RELA และ IL6 ที่สามารถนำมาใช้พิจารณาเพื่อการศึกษา กลไกการออกฤทธิ์ยับยั้งการตอบสนองการอักเสบในระดับห้องปฏิบัติการของพืชสมุนไพรขลู่ เช่นเดียวกันกับ ตัวอย่างการประยุกต์กับหัวหอม ที่สามารถนำกระบวนการทางชีวสารสนเทศนี้มาประยุกต์กับพืชสมุนไพรชนิด อื่นเพื่อช่วยลดต้นทุนและเวลาที่ใช้ในการทำวิจัยเพื่อการตัดสินใจในระดับห้องปฏิบัติการต่อไป |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ชีวสารสนเทศศาสตร์ |
th_TH |
dc.subject |
พืชสมุนไพร |
th_TH |
dc.subject |
ขลู่ |
th_TH |
dc.title |
กระบวนการทางชีวสารสนเทศเพื่อช่วยในการศึกษากลไกการยับยั้งการอักเสบของสารออกฤทธิ์จากธรรมชาติที่ได้จากพืชสมุนไพรในภาคตะวันออก |
th_TH |
dc.title.alternative |
Bioinformatics approaches in the study of the anti-inflammatory mechanisms of natural active compounds from the medicinal plants in Eastern Thailand |
en |
dc.type |
Research |
en |
dc.author.email |
pitak@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
klaokwan@buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2562 |
|
dc.description.abstractalternative |
The active compounds of klue (Pluchea indica (L.) Less), a medicinal plant in the Eastern Thailand, and other medicinal plants were used as a primary reference source to search for target proteins and their interacted proteins by using public databases and bioinformatics tools. There were consisted of (1) searching for the target protein of the active compounds (2) searching for protein-protein interaction information (3) searching for inflammatory genes (4) network analysis and functional module-base analysis with inflammatory genes information and (5) biological interpretation. After construction and analysis of the biological networks of the 10 active compounds including Apigenin, Fisetin, Kaempferol, Quercetin, Myricetin, Isorhamnetin, Catechin, Epigallocatechin gallate, Epicatechin and Theaflavin, the number from 1 to 12 inflammatory modules were found. Then 8 active compounds in klue tea and other tea plants effected to the 25 target proteins that may play an important role in anti-inflammatory response. The 6 target proteins, namely PTGS2, NFKB1, MAPK14, NOS2, RELA and IL6 were found to be the target for antiinflammatory laboratory studies in the three common pathways such as the MAPK, NF-𝜅B and JAK-STAT signaling pathways. This method can be applied to onion and other medicinal plants to reduce the cost and time spent in researching for decision making at the laboratory level |
th_TH |