dc.contributor.author |
อมรชัย ใจยงค์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-10-03T02:10:46Z |
|
dc.date.available |
2019-10-03T02:10:46Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3684 |
|
dc.description.abstract |
ในอดีตงานวิจัยต่าง ๆ ได้มีการศึกษาผลตอบสนองของอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กเนื่องจากแรง แผ่นดินไหวไว้มากมาย โดยส่วนใหญ่จะใช้วิธีวิเคราะห์แรงสถิตไม่เชิงเส้น ซึ่งวิธีนี้เป็นวิธีที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย เนื่องจากเป็นวิธีที่ง่ายกว่าวิธีประวัติเวลาไม่เชิงเส้น และงานวิจัยเหล่านี้ได้มี การศึกษาแบบจำลองชิ้นส่วนของโครงสร้างโดยพิจารณาความเสียหายเนื่องจากแรงดัด เป็นส่วนใหญ่ แต่ในความเป็นจริงแล้วอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กเมื่อถูกแรงแผ่นดินไหวมากระทำกับชิ้นส่วนของ อาคารอาจเกิดความเสียหายเนื่องจากแรงเฉือนด้วย ดังนั้นเพื่อให้ผลตอบสนองของอาคารที่เกิดจากแรงแผ่นดินไหวมีความถูกต้องมากยิ่งขึ้นงาน
วิจัยนี้จึงได้ทำการศึกษาการเคลื่อนที่เป้าหมายที่จุดยอด สำหรับโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กที่ปราศจากความเหนียว โดยพิจารณาความเสียหายเนื่อง
จากแรงดัดและแรงเฉือนเป็นหลัก อีกทั้งเพื่อให้พฤติกรรมของโครงสร้างอาคารสอดคล้องกับพฤติกรรม ของโครงสร้างภายใต้แรงแผ่นดินไหว จึงได้คำนึงถึงผลการเสื่อมถอยของสติฟเนส และการเสื่อมถอย ของกำลัง ด้วยงานวิจัยนี้ได้ใช้วิธีวิเคราะห์แรงสถิตไม่เชิงเส้นในรูปแบบแรงกระทำด้านข้างแบบแยก โหมดด้วยวิธีการผลกัอาคารแบบวัฏจักร โดยใช้ระบบขั้นเสรีเดียวเทียบเท่า ที่คำนึงถึงผลการเสื่อมถอย จากนั้นทำการเปรียบเทียบผลตอบสนองในรูปของอัตราส่วนที่ได้จากวิธีที่นำเสนอเปรียบเทียบ กับวิธีประวัติเวลาไม่เชิงเส้น อาคารที่ใช้ในการศึกษานี้เป็นโครงข้อแข็งที่มีความสูง 3 6 9 และ 12 ชั้น ที่ใช้คลื่นแผ่นดินไหวจำนวน 20 คลื่น มากระทำกับโครงสร้างอาคาร จากผลการศึกษาพบว่าวิธีที่นำเสนอสามารถทำนายผลตอบสนองในรูปของค่าการเคลื่อนที่เป้าหมายที่จุดยอด ได้ใกล้เคียงกับ ผลตอบสนองที่วิเคราะห์ได้จากวิธีประวัติเวลาไม่เชิงเส้น เมื่อพิจารณาความเสียหายเนื่องจากแรงดัด และแรงเฉือนเขา้ไปแล้ว |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
ทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณเงิน รายได ้(เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
คอนกรีตเสริมเหล็ก |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย |
|
dc.title |
การเคลื่อนที่เป้าหมายที่จุดยอดของโครงข้อแข็งปราศจากความเหนียว |
th_TH |
dc.title.alternative |
Target roof displacement of non-ductile RC. frame |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.author.email |
่jaiyong@buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2561 |
|
dc.description.abstractalternative |
In the past years, the researches related to earthquake response analysis, Nonlinear Static Analysis (NSA) is extensively used, more suitable than Nonlinear Response History Analysis (NLRHA). The most significantly studied the flexure failure mode when applied to structural models. In fact, the reinforced-concrete buildings could be damaged by shear failure mode. This research aims to study target roof displacement for non-ductile reinforced-concrete (RC) structure. The objective is to evaluate the accuracy that means to the seismic response of building. Both flexure and shear failure mode are considered. Conformity between the behavior of building structure and the behavior of building under earthquake is derived by the Stiffness and Strength Degradation. This research used NSA with Cyclic Modal Pushover Analysis (CMPA) by utilizing the degrading equivalent SDF systems that developed to obtain both degradations. The next step is to evaluate the accuracy of proposed procedure by comparing the floor displacement and the story drift demands estimated by proposed procedure to those computed by NL-RHA, which is regarded as the reference value. The bias is shown by the ratio of floor displacement and story drifts computed by proposed procedure, and dispersion of the story drift ratios were also examined. A 3, 6, 9 and 12-stories generic frame that was not designed for resisting the earthquake load was selected. The structures were subjected to ground motions: 20 large-magnitude small-distance (LMSR).The following results have been found the proposed procedure can predict the peak roof displacement that are quite similar to NL-RHA's results considering flexure failure mode and shear failure mode. |
th_TH |